Page 71 - การสืบสวนสอบสวน
P. 71

๖๔




                        ฎีกาที่ ๑๑๖๔/๒๕๔๖  การคนบานที่เกิดเหตุ  เจาพนักงานตํารวจไดแสดงบัตรประจําตัว
              เจาพนักงานแก พ. เจาของบานซึ่งเปนมารดาของจําเลยและไดรับความยินยอมแลว เมื่อไมปรากฏวา

              เจาพนักงานตํารวจไดขูเข็ญหรือหลอกลวงให พ. ใหความยินยอมในการคนแมการคนจะทําโดยไมมี
              หมายคน ก็หาไดเปนการคนที่มิชอบแตอยางใดไม  ประกอบกับกอนทําการคนเจาพนักงานตํารวจเห็น

              จําเลยโยนสิ่งของออกไปนอกหนาตาง เมื่อตรวจสอบดูพบวาเปนเมทแอมเฟตามีน จึงเปนกรณีที่
              เจาพนักงานตํารวจพบจําเลยกระทําความผิดฐานมีเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครองอันเปนความผิด

              ซึ่งหนา  และไดกระทําลงในที่รโหฐานเจาพนักงานตํารวจยอมมีอํานาจจับจําเลยไดโดยไมตองมีหมายจับ
              หรือหมายคนตาม ป.วิ.อ.มาตรา ๗๘ (๑) , ๙๒ (๒) เมทแอมเฟตามีนจํานวน ๘๐ เม็ด ที่เจาพนักงาน

              ตํารวจยึดได จึงนํามารับฟงประกอบคํารับสารภาพของจําเลยได
                        เทปหรือซีดีบันทึกเสียง ถือเปนพยานหลักฐานอยางหนึ่งที่พิสูจนความผิดหรือบริสุทธิ์ของ

              จําเลยได จึงอางเปนพยานหลักฐานได สังเกตวาการบันทึกเสียงอาจเปนการบันทึกโดยตั้งใจหรือไม
              ตั้งใจที่จะใชเปนพยานหลักฐานในภายหลังก็ถือเปนพยานหลักฐานอยางหนึ่ง
                        ฎีกาที่ ๑๐๒๗๒/๒๕๕๓  เทปบันทึกเสียงของกลางซึ่งพบที่บานจําเลยเปนพยานหลักฐาน

              อยางหนึ่งที่พิสูจนความผิดหรือความบริสุทธิ์ของจําเลย จําเลยมิไดตอสูหรือปฏิเสธความถูกตอง
              ของเสียงที่มีการบันทึกไว จึงรับฟงเปนพยานหลักฐานได

                        การรับฟงเทปหรือซีดีบันทึกเสียงหรือขอความที่ถอดออก แบงออกเปน ๒ กรณี
                        ๑.    กรณีคูสนทนาเปนผูบันทึก  เปนการบันทึกคําสนทนาของตนเองกับคูสนทนา

              เปนสิทธิที่จะกระทําได  ไมถือวาเทปหรือซีดีบันทึกเสียงหรือเอกสารที่ถอดขอความดังกลาวเปน
              พยานหลักฐานที่เกิดจากการกระทําโดยมิชอบตามมาตรา ๒๒๖

                        ฎีกาที่ ๑๑๒๓/๒๕๐๙ (ประชุมใหญ)  ศาลเชื่อวา จําเลยไดถูกบันทึกเสียงไวถึง ๖ ครั้ง
              ยากที่จะมีใครมาเลียนเสียงที่จําเลยพูดไดเปนชั่วโมงๆ  ไมใชวาศาลชั้นตนจะรับฟงลําพังแตเทปอัดเสียง

              ของจําเลยมาลงโทษจําเลยก็หาไม ศาลเชื่อวาโจทกรวมไดอัดเสียงจําเลยไวจริง จึงไมขัดตอ ป.วิ.อ.
              มาตรา ๒๒๖

                        ฎีกาที่ ๔๖๗๔/๒๕๔๓ การที่จําเลยอางสงเทปบันทึกเสียงซึ่งบันทึกการสนทนาระหวาง
              โจทกและจําเลยพรอมเอกสารที่ถอดขอความบันทึกการสนทนาเปนพยานหลักฐานนั้นนับเปนพยาน

              หลักฐานซึ่งเกี่ยวถึงขอเท็จจริงที่จําเลยจะนําสืบในประเด็นเรื่องการใชเงิน แมโจทกจะไมทราบวามีการ
              บันทึกเสียงไวก็ตาม แตเมื่อเสียงที่ปรากฏเปนเสียงของโจทกจริง และการบันทึกเสียงดังกลาวเกิดจาก

              การกระทําของจําเลยซึ่งเปนคูสนทนาอีกฝายหนึ่งเปนผูบันทึกเสียงไว ซึ่งโดยปกติจําเลยยอมมีสิทธิที่จะ
              เบิกความอางถึงการสนทนาในครั้งนั้นไดอยูแลว จึงไมถือวาเทปบันทึกเสียงและเอกสารที่ถอดขอความ
              นั้นเปนการบันทึกถอยคําซึ่งเกิดจากการกระทําโดยมิชอบอันจะตองมิใหรับฟงเปนพยานหลักฐานตาม

              รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๔๐ มาตรา ๒๔๓ วรรคสอง
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76