Page 68 - การสืบสวนสอบสวน
P. 68

๖๑




                            ขอสังเกต เดิมกอนแกไขเพิ่มเติม ป.วิ.อ.มาตรา ๒๒๖/๑ เรื่องการหามรับฟงพยาน
                 หลักฐานที่ไดมาโดยมิชอบในป ๒๕๕๑ นั้น ศาลฎีกาแปลความ ป.วิ.อ.มาตรา ๒๒๖ ซึ่งเปนหลักในการ

                 รับฟงพยานหลักฐานในคดีอาญาวากฎหมายหามรับฟงพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยมิชอบมิไดหาม
                 รับฟงพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบแตไดมาโดยมิชอบแตอยางใด ดังจะเห็นไดจากฎีกาที่ ๕๐๐/๒๔๗๔

                 ที่วาแมคํารับสารภาพที่เกิดขึ้นโดยมิชอบดวยกฎหมายจะรับฟงไมได แตพยานอื่นที่ไดจากคํารับมิชอบ
                 ดังกลาวเปนพยานที่รับฟงได (ฎีกาที่ ๘๓๗/๒๔๘๓ ก็วินิจฉัยทํานองเดียวกัน) เมื่อมีการแกไขเพิ่มเติม

                 ป.วิ.อ.มาตรา ๒๒๖/๑ ดังกลาว ขอวินิจฉัยที่ปรากฏตามคําพิพากษาศาลฎีกาขางตนจึงไมอาจยึดถือ
                 ไดเปนหลักไดอีกตอไป

                            สรุป พยานหลักฐานที่รับฟงไมไดตามบทบัญญัติมาตรา ๒๒๖ , ๒๒๖/๑ ไดแก
                            ๑.    พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยมิชอบ (มาตรา ๘๔ วรรคทาย, ๑๓๔/๔ วรรคทาย, ๒๒๖)
                            ๒.   พยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ แตไดมาเนื่องจากการกระทําโดยมิชอบ (มาตรา

                 ๒๒๖/๑)
                            ๓.   พยานหลักฐานที่ไดมาโดยอาศัยขอมูลที่เกิดขึ้นหรือไดมาโดยมิชอบ (มาตรา ๒๒๖/๑)
                            กรณีพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยมิชอบ ตามมาตรา ๒๒๖ เปนพยานหลักฐานที่รับฟง

                 ไมไดโดยเด็ดขาด สวนพยานหลักฐานที่ไดมาโดยมิชอบตามมาตรา ๒๒๖/๑ โดยหลักรับฟงไมไดเชนกัน
                 แตมีขอยกเวนใหรับฟงได  ถาการรับฟงพยานหลักฐานนั้นจะเปนประโยชนตอการอํานวยความยุติธรรม
                 มากกวาผลเสียอันเกิดจากผลกระทบตอมาตรฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญาหรือสิทธิเสรีภาพ

                 พื้นฐานของประชาชน
                            ฎีกาที่ ๒๒๘๑/๒๕๕๕  การแอบบันทึกเทปขณะที่มีการสนทนากันระหวางโจทกรวม

                 กับพยานและจําเลยที่ ๒ โดยที่โจทกรวมและพยานไมทราบมากอน  เปนการแสวงหาพยานหลักฐาน
                 โดยมิชอบ หามมิใหศาลรับฟงเปนพยานนั้นตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๒๒๖ แมหลักกฎหมายดังกลาวจะใชตัด

                 พยานหลักฐานของเจาพนักงานของรัฐเพื่อคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนมิใหเจาพนักงานของรัฐ
                 ใชวิธีการแสวงหาพยานหลักฐานโดยมิชอบ แต ป.วิ.อ. มาตรา ๒๒๖ ไมไดบัญญัติหามไมใหนําไปใช
                 กับการแสวงหาพยานหลักฐานของบุคคลธรรมดา อยางไรก็ตาม ระหวางพิจารณาคดีไดมี พ.ร.บ.แกไข

                 เพิ่มเติม ป.วิ.อ.  (ฉบับที่ ๒๘) พ.ศ.๒๕๕๑ มีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๑  โดยมาตรา
                 ๑๑ บัญญัติใหเพิ่มมาตรา ๒๒๖/๑ ป.วิ.อ. กําหนดใหศาลรับฟงพยานหลักฐานที่ไดมาโดยมิชอบได

                 ถาพยานหลักฐานนั้นจะเปนประโยชนตอการอํานวยความยุติธรรมมากกวาผลเสียอันเกิดจากผล
                 กระทบตอมาตรฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญา ศาลจึงนําบันทึกเทปดังกลาวมารับฟงได

                            ขอสังเกต เรื่องนี้ถือวาการหลอกลอใหคูสนทนาพูดเรื่องที่ตนเองตองการแลวแอบบันทึก
                 เสียงการสนทนานั้นไว ถือเปนพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยไมชอบตามมาตรา ๒๒๖ ซึ่งโดยปกติหาม

                 มิใหรับฟงเปนพยานหลักฐานโดยเด็ดขาด ไมมีขอยกเวน ตางจากกรณีตามมาตรา ๒๒๖/๑ ซึ่งเปน
                 กรณีที่เปนพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบแตไดมาโดยมิชอบ ซึ่งมีขอยกเวนใหศาลรับฟงไดถาพยาน

                 หลักฐานนั้นจะเปนประโยชนตอการอํานวยความยุติธรรมมากกวาผลเสียอันเกิดจากผลกระทบตอ
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73