Page 223 - report-06-final-ลายนำ_Neat
P. 223
่
้
ส่วนที ๔ หนา ๒๑๓
่
ื
์
้
่
่
่
มนคงในการจ้างงาน ส่วนกรณีผูไมประสงคทีจะถายโอนไป อบจ. ให้ อบจ. ขอยมตัวเพือช่วย
่
ั
ี
ั
่
ิ
์
ุ
ราชการเป็นระยะเวลาไมเกน ๒ ป และหากบคลากรทีถ่ายโอนไปประสงคขอโอนกลับสังกดเดิม
่
์
ั
ี
่
ั
ื
่
สามารถยนความประสงคขอโอนกลับมายงส่วนราชการเดิมได้ แต่ต้องมตําแหนงว่างรองรบ
การกาหนดอัตรากาลังใน รพ.สต. ทีถ่ายโอนจะกําหนดให้มีอัตรากําลัง ๕ อัตรา
ํ
่
ํ
่
่
ี
้
่
็
่
ต่อหนึง รพ.สต. และหนวยงานทีเกยวข้องจะดําเนินการแกไขกรอบอัตรากําลังให้เปนไปตาม
่
ู
ี
้
้
แนวทางดังกล่าว แต่ในขณะนี รพ.สต. บางแห่งทีถ่ายโอนมาอาจจะมน้อยกว่า ๕ อัตราอย ทังนี ้
่
การบรรจุบคลากรเพิมเปนไปตามระเบียบการบรหารจากสํานักงานคณะกรรมการขาราชการ
่
ุ
้
ิ
็
่
ั
ิ
ี
ี
้
พลเรือน และระเบยบบรหารงานบคคลส่วนท้องถนทียงไมมการแกไข แมว่าจะมความต้องการ
ิ
่
ี
่
ุ
้
ี
่
ิ
่
้
บรรจุข้าราชการด้านสาธารณสุขของท้องถน แต่ติดทีระเบียบดังกล่าว โดยมผูผ่านจํานวนน้อย
ั
้
่
่
่
่
และไมเพียงพอกบตําแหนงทีต้องการ รวมทังหลักเกณฑ์การบรรจุลูกจ้างทีปฏิบัติหน้าทีใน รพ.
่
้
ี
ิ
์
็
็
สต. มาเปนเวลานานกจะต้องผ่านหลักเกณฑระเบยบดังกล่าวด้วย ดังนัน การบรหารงานบุคคล
ยงไมตอบสนองการจัดบรการสาธารณสุขเท่าทีควรจะเปน แต่ประเด็นสวัสดิการของบคลากรยัง
็
ุ
่
ั
ิ
่
ื
ึ
่
ี
ยดหลักการว่า บคลากรจะต้องมสิทธิสวัสดิการเท่าเดิมหรอไม่น้อยกว่าก่อนทีจะถ่ายโอนภารกิจ
ุ
ิ
้
สําหรบหลักเกณฑและความกาวหนาในวชาชีพของผูปฏบติงานใน รพ.สต. ทีถ่าย
่
้
ั
้
์
ิ
ั
ี
้
ั
้
โอน แมว่าการสอบวดความรความสามารถเป็นไปตามหลักการของกฎหมายทัวไป และมเหตุผล
ู
่
ิ
ั
รองรับในระดับหนึง แต่พบปญหาในทางปฏบติ อาทิ บคลากรทางการแพทยและสาธารณสขใน
ุ
่
ุ
ั
์
่
องคกรปกครองท้องถนต้องการความก้าวหน้าจากการปฏิบัติงานมาเป็นระยะเวลานาน และ
์
ิ
ี
่
ุ
่
ื
็
ต้องการเลือนระดับจากชํานาญการพิเศษเปนระดับเชียวชาญ โดยมคณสมบัติครบถ้วน แต่เมอ
่
้
้
่
้
ุ
ดําเนินการวัดความรูความสามารถไปตามขันตอนแล้ว แต่ติดทีงบประมาณดานบคลากรไม ่
ุ
ั
ี
้
้
ื
เพียงพอ คณะอนุกรรมาธิการเสนอให้มการแกไขปญหาหรอผ่อนปรนโดยการให้บคลากรผูผ่าน
ั
้
่
่
ิ
่
การประเมนดังกล่าวดังกล่าวเข้าสูกระบวนการไปตามขนตอนและเลือนระดับไปกอน แต่
ี
ํ
ื
่
เพียงแต่กาหนดให้คาตอบแทนและเงนเดือนเท่าเดิมรอจนกว่าจะมงบประมาณมาเพิมเติม หรอ
ิ
่
้
็
่
็
่
ิ
เปนการเลือนระดับเพือเปนเกยรติประวัติโดยไมได้อิงกบเงนงบประมาณ อาจเปนแนวทางแกไข
ั
่
ี
็
้
่
ั
้
ปญหาความกาวหนาในสายงานอีกทางหนึง
้
็
้
ิ
ขอคดเหนและขอเสนอแนะ
ื
่
ี
่
(๑) เสนอให้หน่วยงานทีเกยวของมการเปรยบเทียบให้เห็นชัดเจนเรองแผน
ี
้
ี
่
์
ุ
์
่
ุ
่
์
ุ
ยทธศาสตรอัตรากําลังคนระหว่างแผนยทธศาสตรเดิม และแผนยทธศาสตรใหมทีจะดําเนินการ
่
ี
(๒) เสนอให้มการยกเว้นการสอบวัดความรูความสามารถทัวไปของสํานักงาน
้
่
้
คณะกรรมการขาราชการพลเรอน (ภาค ก) ในกรณีทีเปนลูกจ้างของกระทรวงสาธารณสุขแล้ว
็
ื
่
ให้สามารถสอบแขงขันเฉพาะตําแหนงได้
่
(๓) เสนอให้มการปรบรปแบบการจ้างงาน ซึงจะไมใช่รปแบบการจ้างงานแบบ
ี
่
่
ู
ั
ู
็
ราชการขึนอยกบบรบท โดยอาจจะจ้างบคลากรภายนอกเข้ามาสนับสนุนหรอปฏบติงานเปน
้
ู
ิ
ุ
ื
ั
่
ั
ิ
ุ
ั
ิ
ช่วงเวลา อาทิ จ้างพยาบาล เภสัชกร แพทยเกษียณอายราชการมาปฏบติงานช่วย
์