Page 29 - e-Book Cold Chain
P. 29

22

                 3.2 สถานการณ์ประเทศไทย

                            สถานการณ์การผลิตผลไม้ที่ส าคัญของไทย 3 ชนิด (ทุเรียน มังคุด และเงาะ) ปี 2561

                            1) ทุเรียน เนื้อที่ยืนต้น 864,842 ไร่ แบ่งเป็น ภาคเหนือ 51,299 ไร่ ภาตะวันออกเฉียงเหนือ

                 8,315 ไร่ภาคตะวันออก 322,358 ไร่ ภาคกลาง 16,315 ไร่ ภาคใต้ 466,555 ไร่ เนื้อที่ให้ผล 675,375 ไร่

                                                         ี
                 แบ่งเป็น ภาคเหนือ 38,507 ไร่ ภาคตะวันออกเฉยงเหนือ 3,420 ไร่ ภาคตะวันออก 268,520 ไร่ ภาคกลาง
                 5,621 ไร่ ภาคใต้ 359,307 ไร่ ผลผลิต 752,760 ตัน แบ่งเป็น ภาคเหนือ 35,461 ตัน ภาค

                 ตะวันออกเฉียงเหนือ 4,474 ตัน ภาคตะวันออก 405,080 ตัน ภาคกลาง 3,478 ตัน ภาคใต้ 304,267 ตัน

                 ผลผลิตต่อไร่ 1,115 กิโลกรัม โดยภาคเหนือ 921 กิโลกรัม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1,308 กิโลกรัม ภาค

                 ตะวันออก 1,509 กิโลกรัม ภาคกลาง 619 กิโลกรัม และภาคใต้ 847 กิโลกรัม

                            2) มงคุด เนื้อที่ยืนต้น 448,008 ไร่ แบ่งเป็น ภาคเหนือ 396 ไร่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                ั
                 ไม่มีภาคตะวันออก 201,470 ไร่ ภาคกลาง 1,849 ไร่ ภาคใต้ 244,293 ไร่ เนื้อที่ให้ผล 420,472 ไร่ แบ่งเป็น

                                              ี
                 ภาคเหนือ 379 ไร่ ภาคตะวันออกเฉยงเหนือ ไม่มี ภาคตะวันออก 195,589 ไร่ ภาคกลาง 1,112 ไร่ ภาคใต้
                 223,392 ไร่ ผลผลิต 184,583 ตัน แบ่งเป็น ภาคเหนือ 58 ตัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไม่มี ภาคตะวันออก

                 73,815 ตัน ภาคกลาง 346 ตัน ภาคใต้ 110,364 ตัน ผลผลิตต่อไร่ 439 กิโลกรัม โดยภาคเหนือ 153

                 กิโลกรัม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไม่มี ภาคตะวันออก 377 กิโลกรัม ภาคกลาง 311 กิโลกรัม และภาคใต้

                 494 กิโลกรัม

                            3) เงาะ เนื้อที่ยืนต้น 260,736 ไร่ แบ่งเป็น ภาคเหนือ 21,960 ไร่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

                 7,019 ไร่ ภาคตะวันออก 115,787 ไร่ ภาคกลาง 3,119 ไร่ ภาคใต้ 112,851 ไร่ เนื้อที่ให้ผล 247,759 ไร่


                 แบ่งเป็น ภาคเหนือ 17,276 ไร่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4,983 ไร่ ภาคตะวันออก 112,272 ไร่ ภาคกลาง
                 2,071 ไร่ภาคใต้ 111,157 ไร่ ผลผลิต 272,353 ตัน แบ่งเป็น ภาคเหนือ 8,886 ตัน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


                 5,970 ตัน ภาคตะวันออก 173,538 ตัน ภาคกลาง 1,181 ตัน ภาคใต้ 82,778 ตัน ผลผลิตต่อไร่ 1,099
                 กิโลกรัม โดยภาคเหนือ 514 กิโลกรัม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1,198 กิโลกรัม ภาคตะวันออก 1,546


                 กิโลกรัม ภาคกลาง 570 กิโลกรัม และภาคใต้ 745 กิโลกรัม
                            ภาพรวมผลไมทั้ง 3 ชนิด พบว่า เนื้อที่ยืนต้น ปี 2561 มี 1,573,586 ไร่ เพิ่มขึ้นจากปี 2560
                                        ้

                 ซึ่งมี 1,545,126 ไร่ หรือเพมขึ้น ร้อยละ 1.84 เนื้อที่ให้ผล ปี 2561 มี 1,343,606 ไร่ เพมขึ้นจากปี 2560
                                                                                          ิ่
                                       ิ่
                                                                                        ิ่
                 ซึ่งมี 1,312,787 ไร่ หรือเพมขึ้น ร้อยละ 2.35 ผลผลิต มี 1,209,696 ตัน เพมขึ้นจากปี 2560
                                          ิ่
                 ซึ่งมี 1,121,974 ตัน หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 7.82 ผลผลิต/ไร่ ปี 2561 ประมาณ 900 กิโลกรัม ซึ่งเพิ่มขนจาก
                                                                                                    ึ้
                 ปี 2560 ซึ่งมี 855 กิโลกรัม หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5.38

                            ทั้งนี้ รายละเอียดแสดงดังข้อมูลตามตารางที่ 3-2




                  ึ
                                                                                               ื
                                                                                                              ้
            โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
                                           ิ
                                                   ่
                                                                    ิ
                                                                                ้
                                                                      ้
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34