Page 66 - e-Book Cold Chain
P. 66
59
4.3 รูปแบบการบริหารจัดการโซ่อุปทานและโซ่ความเย็นในสินค้าแต่ละประเภทของสถาบันเกษตรกร
ุ
ในหัวข้อนี้ ผู้ศึกษาได้ประมวลและสรุปรูปแบบการจัดการโซ่อปทานในสินค้าแต่ละประเภทของ
สถาบันเกษตรกรในระดับข้อมูลรายจังหวัด และวิเคราะห์รูปแบบโซ่ความเย็นในสินค้าแต่ละประเภท
ุ
ในลักษณะภาพรวม ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของการจัดการโซ่อปทานและโซ่ความเย็นของสินค้า
แต่ละชนิด ตามรูปแบบที่แตกต่างกันไป โดยมีรายละเอียด ดังนี้
4.3.1 วิเคราะห์รูปแบบการบริหารจัดการโซ่ความเย็นในสินค้าแต่ละประเภทจ าแนกตามจังหวด
ั
1. จังหวัดฉะเชิงเทรา
ผู้ศึกษาได้ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลรูปแบบการบริหารจัดการโซ่ความเย็นในสินค้าผลไม้
ื้
ของสถาบันเกษตรกรในพนที่จังหวัดฉะเชิงเทรา รวม 6 แห่งในสินค้าผักและผลไม้ คือ ผักใบ (กระเพรา ผักชี
คะน้า กวางตุ้ง ผักบุ้ง) เห็ดฟาง และผลไม้ คือ มะม่วง โดยมีรายละเอียดผลการวิเคราะห์ ดังนี้
1) ผัก
1.1) โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอ านวยความสะดวก
ื้
ในการบริหารจัดการผลผลิตผักใบ มีการใช้ประโยชน์โครงสร้างพนฐานและ
สิ่งอ านวยความสะดวก ประกอบด้วย อาคารศูนย์เรียนรู้/โรงรวบรวม โรงเรือนแบบกางมุ้ง ระบบน้ าหยด เครื่อง
ชั่งรถบรรทุก ตะกร้าพลาสติกหูเหล็ก ตะกร้าพลาสติก เข่งพลาสติก
1.2) การเคลื่อนย้ายผลผลิต (Physical Flow)
โลจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics)
จังหวัดฉะเชิงเทรามีสถาบันเกษตรกรครบทุกประเภทที่ผลิตผัก คือ มีทั้งกลุ่ม
เกษตรกร วิสาหกิจชุมชน และสหกรณ์ ซึ่งในแต่ละแห่งจะมีกระบวนการภายในที่แตกต่างกัน พชหลักที่ปลูก
ื
ื่
ขึ้นอยู่กับการวางแผนการเพาะปลูก เพอให้มีผักเก็บได้ตลอดทั้งปี คือ ผักตามฤดูกาลในชนิดต่าง ๆ ควบคู่กับ
ื
ี่
การปลูกผลไม้ ซึ่งชนิดผักทปลูก เช่น คะน้า ผักกาด กวางตุ้ง ผักบุ้ง ถั่วฝักยาว มะเขือ รวมทั้งพชสมุนไพร เช่น
พริก ขิง ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด โดยภาพรวมแล้วจะมีกระบวนการบริหารจัดการที่ไม่แตกต่างกันมาก ส าหรับ
ช่วงเวลาการเก็บเกี่ยวผลผลิต แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ 06.00-08.00 น. และ 16.00-18.00 น. ยกเว้นเห็ดฟางที่
สามารถเก็บได้ตลอดทั้งวัน เนื่องจากเพาะปลูกในโรงเรือน หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตหรือระหว่างรอขนส่งไปยัง
ุ
ื่
ั
จุดรวบรวม เกษตรกรจะน าผักไปพกรอส่งไว้ในที่ร่ม โดยไม่มีการควบคุมอณหภูมิ ไม่ซ้อนทับกัน เพอป้องกัน
ผลผลิตบอบช้ า ซึ่งเกษตรกรจะน าผลผลิตไปส่ง ณ จุดรวบรวม หรือจ าหน่ายในตลาดหลายระดับ เช่น ตลาดใน
ท้องถิ่น โรงเรียน โรงพยาบาล ตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย สถานประกอบการโรงงานแปรรูปและส่งออก
ส าหรับแรงงานในการเก็บเกี่ยวผลผลิตใช้สมาชิกในครัวเรือน เนื่องจากปริมาณการเพาะปลูก เป็นไปตามก าลัง
ของครอบครัวที่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้เอง หรือสถาบันเกษตรกรบางแห่งจะร่วมกับสมาชิกในการปลูกและ
เก็บเกี่ยว
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
้
ื
่
ิ
ึ
้
้
ิ