Page 64 - e-Book Cold Chain
P. 64
57
ห้องเย็น ร้อยละ 3 สาเหตุมาจากสูญเสียน้ าหนักและช้ าระหว่างขนส่ง วิธีการลดอณหภูมิผลผลิต (Pre-
ุ
Cooling) เป็นแบบการลดอุณหภูมิด้วยอากาศเย็น (Room Cooling) รูปแบบบรรจุภัณฑ์ เป็นตะกร้าพลาสติก
และเห็นว่าบรรจุภัณฑ์มีความเหมาะสมและสามารถช่วยยืดอายุผลผลิตได้ ปัญหาที่พบ ได้แก่ ผลผลิตมีไม่มาก
เพียงพอ ท าให้ต้นทุนค่าไฟฟ้าในการใช้ห้องเย็นไม่เกิดการประหยัดต่อขนาดเท่าที่ควร
ภาพรวม สถาบันเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ห้องเย็น (แช่เย็น/แช่แข็ง) มีจ านวน 7 แห่ง
ุ
มูลค่าห้องเย็นเฉลี่ย 9.38 ล้านบาท อายุเฉลี่ย 3 ปี ได้มาตรฐาน GMP ร้อยละ 57 ห้องเย็นมีอณหภูมิตั้งแต่ 15
ี
ถึง -70 องศาเซลเซียส ปริมาณการจัดเก็บเฉลี่ย 375 ตัน/ป ความสามารถในการจัดเก็บได้สูงสุดเฉลี่ย 508 ตัน/ปี
ั
คิดเป็น อตราการใช้ประโยชน์ ร้อยละ 74 รายได้เฉลี่ย 58.10 ล้านบาท/ปี สิ่งอานวยความสะดวกภายใน
ห้องเย็น ได้แก่ ม่านพลาสติก อปกรณ์แกะเนื้อทุเรียน สายพานล าเลียงทุเรียน ถาดวางเนื้อทุเรียน รถเข็น
ุ
ตะกร้า เป็นต้น ขั้นตอนการด าเนินงานที่ส าคัญ กรณีผักและผลไมแช่เย็น ได้แก่ (1) การรับซื้อ (2) คัดเกรด
้
(3) ชั่งน้ าหนัก (4) ใส่บรรจุภัณฑ์ (5) เก็บสินค้าเข้าห้องเย็น และ (6) ขนส่งด้วยรถห้องเย็น กรณีผลไม้แช่แข็ง
ิ่
ได้แก่ (1) รับซื้อผลไม้ (2) บ่มเพอเพมความหวานจนถึงระดับที่ลูกค้าต้องการ (3) แปรรูป (4) จัดเก็บในห้องแช่
ื่
ั
แข็ง (5) ใส่บรรจุภัณฑ์ และ (6) ขนส่งด้วยรถแช่แข็ง อตราความเสียหายในห้องเย็น ร้อยละ 3 สาเหตุมาจาก
ุ
ิ
ฝุ่นจากเปลือกผลไม้ การท างานที่ผิดพลาด สูญเสียน้ าหนัก และช้ าระหว่างขนส่ง วธีการลดอณหภูมผลผลิต
ิ
ุ
(Pre-Cooling) แบ่งเป็น การลดอณหภูมิด้วยอากาศเย็น (Room Cooling) ร้อยละ 56 และการลดอณหภูมิ
ุ
โดยผ่านอากาศเย็น (Forced Air Cooling) ร้อยละ 44 รูปแบบบรรจุภัณฑ แบ่งเป็น ขนขึ้นรถโดยไม่ใส่บรรจุ
์
ภัณฑ์ ร้อยละ 9 กล่อง/ลังกระดาษ ร้อยละ 45 ตะกร้าพลาสติก ร้อยละ 37 ถุงพลาสติก ร้อยละ 9 กลุ่มตัวอย่าง
ร้อยละ 67 เห็นว่า บรรจุภัณฑ์มีความเหมาะสมและสามารถช่วยยืดอายุผลผลิตได้ ปัญหาที่พบ ได้แก่ ผลผลิตมี
้
ปริมาณน้อยท าให้ไม่ประหยัดต่อขนาด ผลผลิตมีตามฤดูกาลจึงไม่ได้ใช้ประโยชน์ห้องเย็นตลอดทั้งปี และไฟฟา
ดับบ่อย
2) การขนส่งผลผลิต/รถห้องเย็น
กลุ่มผลไม ปริมาณการขนส่งเฉลี่ย 14 ตัน/เที่ยว จากความจุสูงสุด 18 ตัน/เที่ยว มูลค่า
้
สินค้า 1.58 ล้านบาท/เที่ยว สินค้าถูกขนส่งด้วยรถห้องเย็น ร้อยละ 67 ของผลผลิตทั้งหมด พาหนะที่ใช้ขนส่ง
ผลผลิต (รถของสถาบันเกษตรกรและรถของลูกค้า) แบ่งเป็น รถห้องเย็น ร้อยละ 60 รถบรรทุกสี่ล้อ ร้อยละ
16 รถบรรทุกหกล้อ ร้อยละ 8 รถบรรทุกสิบหกล้อ ร้อยละ 8 และรถพวง ร้อยละ 8 รูปแบบการขนส่ง
่
แบ่งเป็น ใช้รถของสถาบันเกษตรกร ร้อยละ 27 จ้างผู้ให้บริการขนส่ง ร้อยละ 27 ลูกค้ามารับเอง ร้อยละ 46
ปริมาณขนส่งเฉลี่ย 22 ตัน/วัน ต้นทุนค่าขนส่งเฉลี่ยที่ส าคัญ ได้แก่ ค่าน้ ามันเชื้อเพลิง 110,868 บาท/ปี
ค่าจ้างรถขนส่ง 502,725 บาท/ปี ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับรถ 53,453 บาท/ปี ค่าประกันภัยรถยนต์ 33,110 บาท/ปี
สถาบันเกษตรกรที่มีรถหกล้อห้องเย็นมีเพยง 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรมะขาม จ ากัด และสหกรณ์
ี
การเกษตรเพอการแปรรูปและส่งออกจังหวัดตราด จ ากัด มูลค่ารถเฉลี่ย 2.6 ล้านบาท อายุรถเฉลี่ย 1 ปี
ื่
ระยะเวลาการขนส่ง แบ่งเป็น ตลาดกรุงเทพฯ และปริมณฑล 5-6 ชั่วโมง ตลาดเวียดนาม 11 ชั่วโมง ตลาดจีน
ิ
3-4 วัน อตราความเสียหายระหวางขนส่ง ร้อยละ 3 เนื่องจากบอบช้ า น้ าหนักหาย วธีรักษาความสด/
่
ั
้
ึ
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
ิ
้
้
ื
ิ
่