Page 63 - e-Book Cold Chain
P. 63
56
ตราด จ ากัด ส่วนสถาบันเกษตรกรที่ใช้แช่เย็นอย่างเดียว จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ วิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตมะม่วง
ส่งออกจังหวัดฉะเชิงเทรา และสหกรณ์การเกษตรท่าใหม่ จ ากัด มูลค่าห้องเย็นเฉลี่ย 15.33 ล้านบาท อายุเฉลี่ย
ุ
3 ปีได้มาตรฐาน GMP ร้อยละ 80 ห้องเย็นมีอณหภูมิตั้งแต่ 15 องศาเซลเซียส ถึง -70 องศาเซลเซียสปริมาณ
ั
การจัดเก็บเฉลี่ย 406 ตัน/ปี ความสามารถในการจัดเก็บได้สูงสุดเฉลี่ย 510 ตัน/ปี คิดเป็น อตราการใช้
ประโยชน์ ร้อยละ 80 รายได้จากห้องเย็น/ธุรกิจแปรรูป (ผลไม้แช่เย็น แช่แข็ง) เฉลี่ย 103,713,247 บาท/ปี
สิ่งอานวยความสะดวกภายในห้องเย็น ได้แก่ ม่านพลาสติก อปกรณ์แกะเนื้อทุเรียน สายพานล าเลียงทุเรียน
ุ
ถาดวางเนื้อทุเรียน รถเข็น เป็นต้น ห้องเย็นได้มาตรฐาน จ านวนแรงงานเฉลี่ย 20 คน ค่าจ้างแรงงานเฉลี่ย
1,095,000 บาท/ปี ค่าไฟฟาเฉลี่ย 3,650,000 บาท/ปี ขั้นตอนการด าเนินงานที่ส าคัญ กรณีผลไม้แช่เย็น
้
(1) การรับซื้อ (2) คัดเกรด (3) ชั่งน้ าหนัก (4) ใส่บรรจุภัณฑ์ (5) เก็บสินค้าเข้าห้องเย็น และ (6) ขนส่งด้วย
รถห้องเย็น กรณีผลไม้แช่แข็ง (ทุเรียน) (1) รับซื้อทุเรียนที่ระดับความสุก ร้อยละ 70 (2) บ่มทุเรียนจ านวน
5 วัน จนมีระดับความสุก ร้อยละ 85 (3) แกะเนื้อทุเรียน (4) น าเนื้อทุเรียนไปจัดเก็บในห้องแช่แข็ง
(5) ใส่บรรจุภัณฑ์ และ (6) ขนส่งด้วยรถแช่แข็งเนื้อทุเรียน 15 องศาเซลเซียส ถึง -70 องศาเซลเซียส สามารถ
จัดเก็บได้ 1 ปี มะม่วง 12 องศาเซลเซียส สามารถจัดเก็บได้ 2-3 สัปดาห์ อย่างไรก็ตาม ผลไม้แช่เย็นจัดเก็บใน
ห้องเย็นของสถาบันเกษตรกร ไม่เกิน 5 วัน และผลไม้แช่แข็ง จัดเก็บในห้องเย็นของสถาบันเกษตรกร ไม่เกิน
ั
3 เดือน อตราความเสียหายในห้องเย็น ร้อยละ 1 สาเหตุมาจากฝุ่นจากเปลือกทุเรียนไปปนในเนื้อทุเรียน
ิ
ุ
ิ
หรือเกิดจากการท างานผิดพลาด ผ่าเนื้อทุเรียนไม่เป็นไปตามที่ลูกค้าต้องการ วธีการลดอณหภูมผลผลิต
(Pre-Cooling) แบ่งเป็น การลดอณหภูมิด้วยอากาศเย็น (Room Cooling) ร้อยละ 43 และการลดอณหภูมิ
ุ
ุ
โดยผ่านอากาศเย็น (Forced Air Cooling) ร้อยละ 57 รูปแบบบรรจุภัณฑ แบ่งเป็น ขนขึ้นรถโดยไม่ใส่บรรจุ
์
ภัณฑ์ ร้อยละ 10 กล่อง/ลังกระดาษ ร้อยละ 50 ตะกร้าพลาสติก ร้อยละ 30 ถุงพลาสติก ร้อยละ 10 กลุ่ม
ตัวอย่างร้อยละ 60 เห็นว่าบรรจุภัณฑ์มีความเหมาะสมและสามารถช่วยยืดอายุผลผลิตได้ ปัญหาที่พบ ได้แก่
ี
ผลผลิตไม่เพยงพอ ท าให้ใช้ประโยชน์ห้องเย็นได้ไม่ต่อเนื่องตลอดทั้งปี รวมถึงกระแสไฟฟาดับบางช่วง ซึ่ง
้
ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการด าเนินงานในห้องเย็น
กลุ่มผัก สถาบันเกษตรกรที่ใช้ประโยชน์ห้องเย็น (แช่เย็น) มีจ านวน 2 แห่ง ได้แก่
วิสาหกิจชุมชนเห็ดและผักปลอดสารพษบ้านหนองหว้าจังหวัดฉะเชิงเทรา และสหกรณ์พชผักผลไม้เกษตร
ื
ิ
ปลอดภัยสูงจังหวัดฉะเชิงเทรา จ ากัด มูลค่าห้องเย็นเฉลี่ย 450,000 บาท อายุเฉลี่ย 1 ปี ยังไม่ได้มาตรฐาน
GMP ร้อยละ 100 ห้องเย็นมีอณหภูมิตั้งแต่ 10 องศาเซลเซียส ถึง 15 องศาเซลเซียส อย่างไรก็ตาม สหกรณ์
ุ
พืชผักผลไม้เกษตรปลอดภัยสูงจังหวัดฉะเชิงเทรา จ ากัด อยู่ระหว่างเริ่มด าเนินการ ดังนั้น ข้อมูลที่ได้จึงเป็นของ
ิ
วิสาหกิจชุมชนเห็ดและผักปลอดสารพษบ้านหนองหว้าจังหวัดฉะเชิงเทราเท่านั้น โดยมีรายละเอยด ดังนี้
ี
ั
ปริมาณการจัดเก็บเฉลี่ย 250 ตัน/ปี ความสามารถในการจัดเก็บได้สูงสุดเฉลี่ย 500 ตัน/ปี คิดเป็นอตราการใช้
ประโยชน์ ร้อยละ 50 รายได้จากธุรกิจรวบรวมเฉลี่ย 12.5 ล้านบาท/ปี สิ่งอานวยความสะดวกภายในห้องเย็น
ได้แก่ ม่านพลาสติก ตะกร้า รถเข็น เป็นต้น ขั้นตอนการด าเนินงานที่ส าคัญ ได้แก่ (1) การรับซื้อ (2) คัดเกรด (3)
ั
ชั่งน้ าหนัก (4) ใส่บรรจุภัณฑ์ (5) เก็บสินค้าเข้าห้องเย็น และ (6) ขนส่งด้วยรถห้องเย็น อตราความเสียหายใน
ึ
ิ
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
้
้
้
ื
่
ิ