Page 79 - e-Book Cold Chain
P. 79

72

                                      ทุเรียนแช่แข็ง ลูกค้าในประเทศใช้รถสิบล้อห้องเย็น ความจุ 11 ตัน ลูกค้าต่างประเทศ

                                                     ิ
                  ใช้รถหัวลากตู้คอนเทนเนอร์เย็นแบบยาวพเศษ (40' Reefer High Cube) ความจุ 20-22 ตัน รถต้องออกก่อน
                  ขึ้นเรือ 6 ชั่วโมงก่อนขนส่ง ต้องท าอุณหภูมิภายในตู้คอนเทนเนอร์ให้ได้ -25 องศาเซลเซียส ซึ่งเมื่อใส่สินค้าแล้ว
                  อณหภูมิจะอยู่ที่ -20 องศาเซลเซียส รูปแบบการขนส่ง แบ่งเป็น ลูกค้าจีนใช้การขนส่งทางถนนผ่านหนองคาย-
                   ุ
                  เวียงจันทร์ และเข้าสู่จีนโดยใช้เส้นทาง R3A ลูกค้าอนโดนีเซียใช้การขนส่งทางเรือผ่านท่าเรือแหลมฉบัง ลูกค้า
                                                             ิ
                  ยุโรปและญี่ปุ่นใช้การขนส่งทางเครื่องบิน เทอมการค้า (Incoterms) ที่ใช้ก าหนดราคาส่งออกสินค้า มีทั้งแบบ

                  CFR (Cost and Fright) ซึ่งคิดค่าสินค้าโดยรวมค่าต้นทุนสินค้าและค่าขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ และแบบ

                  CIF (Cost Insurance and Freight) ซึ่งคิดค่าสินค้าโดยรวมค่าต้นทุนสินค้า ค่าประกัน และค่าขนส่งระหว่าง
                  ประเทศ ทั้งนี้ ระหว่างการขนส่งมีการใช้เครื่องวัด และบันทึกค่าอณหภูมิ (Data Logger) เพอบันทึกข้อมูล
                                                                                                 ื่
                                                                          ุ
                  ตลอดการขนส่ง ซึ่งถ้ามีปัญหาเรื่อง อุณหภูมิ คุณภาพและรูปทรงของสินค้าจะเปลี่ยนไป

                                                       ่
                                       2) มังคุด เงาะ มะมวง

                                         2.1) โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอ านวยความสะดวก

                                             การบริหารจัดการผลผลิตมังคุด เงาะ มะม่วง มีการใช้ประโยชน์โครงสร้าง

                   ื้

                  พนฐานและสิ่งอานวยความสะดวกประกอบด้วย ศูนย์รวบรวมและคัดแยกผลผลิตทางการเกษตร โรงอบไอน้ า
                  เครื่องคัดแยกผลไม้ เครื่องชั่งรถบรรทุก รถโฟล์คลิฟท์ ตะกร้าพลาสติก

                                         2.2) การเคลื่อนย้ายผลผลิต (Physical Flow)
                                             โลจิสติกส์ขาเข้า (Inbound Logistics)

                                             สถาบันเกษตรกรรวบรวมผลผลิตของสมาชิกในช่วงกลางเดือนมีนาคม-
                  พฤษภาคม โดยเริ่มเก็บเกยวผลผลิต เวลา 08.00 น. ตะกร้าพลาสติกที่ใช้ มังคุด บรรจุ 23 กิโลกรัม/ตะกร้า ซึ่ง
                                       ี่
                  เมื่อรวมน้ าหนักตะกร้าจะได้ 25 กิโลกรัม/ตะกร้า เงาะ บรรจุ 18 กิโลกรัม/ตะกร้า ซึ่งเมื่อรวมน้ าหนักตะกร้าจะ

                  ได้ 20 กิโลกรัม/ตะกร้า หลังจากนั้นสมาชิกมาส่งผลผลิตที่จุดรวบรวมของสถาบันเกษตรกรเวลา 15.00-24.00
                  น. พาหนะที่ใช้ คือ รถกระบะ


                                             กระบวนการภายในสถาบันเกษตรกร (Operation) ขั้นตอนที่ส าคัญ มีดังนี้
                                             (1) สถาบันเกษตรกรแบ่งโควตาการรับซื้อให้สมาชิกและสมาชิกมารับตะกร้า

                  ที่สถาบันเกษตรกรไปเก็บผลผลิต

                                             (2) สมาชิกคัดเกรดผลผลิตมาส่ง และสถาบันเกษตรกรตรวจคุณภาพ (QC)
                  ผลผลิตที่รับซื้อ

                                             (3) ลดอุณหภูมิผลผลิตในเบื้องต้น โดยวิธีพัดลมเป่า พ่นน้ า และใช้น้ าเย็น

                                             (4) กรณีมังคุดคุณภาพ พิจารณาจากลักษณะหูเขียว ผิวมัน เป็นหลัก ท าให้ผล
                  ผลิตไม่เป็นตามลักษณะดังกล่าวจ านวนมาก และพบแมลงซ่อนอยู่ตามผลมังคุด มีปัญหาการส่งออกไปญี่ปุ่น

                  สหกรณ์การเกษตรท่าใหม่ จ ากัด จึงส่งออกเป็น “เนื้อมังคุดแช่เยือกแข็ง” ทดแทน ท าให้สามารถส่งออก







                                                                                               ื
                                                                                ้
                                                                                                              ้
            โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
                                           ิ
                                                   ่
                  ึ
                                                                      ้
                                                                    ิ
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84