Page 75 - e-Book Cold Chain
P. 75
68
ภาพที่ 4-2 แสดงขั้นตอนการแกะเนื้อทุเรียน
แกะเนื้อ เรียงบนถาด เรียงขึ้นชั้นเตรียมเข้าห้องเย็น
(3) เนื้อเกรด A และ B จะถูกน าไปแช่แข็งที่อณหภูมิ -25 ถึง -70 องศาเซลเซียส เก็บได้
ุ
ประมาณ 1 ปี ส่วนเนื้อเละจะน าไปกวนด้วยเครื่องกวน แล้วน าไปบรรจุถุง ๆ ละ 5 กิโลกรัม และบรรจุกล่อง ๆ
ละ 20 กิโลกรัม (4 ถุง) จ าหน่ายให้บริษัท สเวนเซ่นส์ (ไทย) จ ากัด เพื่อผลิตไอศกรีมต่อไป
ภาพที่ 4-3 แสดงการกวนเนื้อทุเรียนเพื่อท าไอศกรีม และการแช่แข็งเนื้อทุเรียน
การกวนเนื้อทุเรียนเพื่อท าไอศกรีม การแช่แข็งเนื้อทุเรียน
(4) เปลือกทุเรียนซึ่งได้จากกระบวนการผลิต คิดเป็นร้อยละ 70-80 ของน้ าหนักทั้งลูกจะ
น าไปใช้ผลิตปุ๋ยซึ่งในอนาคตอาจแปรรูปเป็นกระถางต้นไม้หรือถ่านเพิ่มเติม
ความสูญเสียในห้องเย็น ประมาณ ร้อยละ 1 อนเนื่องมาจากความสะอาด มีฝุ่นที่มาจาก
ั
เปลือก ส่วนการแช่แข็งทุเรียนทั้งลูกค่อนข้างมีปัญหา และเคยถูกตีกลับเนื่องจากเจอหนอนภายในลูก ไม่สามารถ
ื่
มองเห็นได้จากภายนอก นอกจากนี้ การแปรรูปอน ๆ เช่น ทุเรียนกวน ยังไม่ตอบโจทย์เท่าที่ควรเนื่องจาก
ทุเรียนแพง โดยทุเรียน 4 กิโลกรัม/ลูก ได้เนื้อทุเรียน 1 กิโลกรัม ท าทุเรียนกวนได้เพยง 0.5 กิโลกรัม การผลิต
ี
จึงต้องใช้ทุเรียนด้อยคุณภาพเป็นหลัก ทั้งนี้ แต่ละสถาบันเกษตรกรอาจมีขั้นตอนและใช้อณหภูมิแช่แข็งที่
ุ
ื
ิ
้
โครงการศกษาการจัดท าแนวทางการพัฒนาเพื่อการบรหารจัดการโซความเย็น (Cold Chain) ในสนคาพืชผักและผลไมของสถาบันเกษตรกรในพ้นที่ EEC และจังหวัดใกลเคียง
่
ิ
้
้
ึ