Page 17 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
P. 17
โครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
➢ ค้นหาแหล่งทรัพยากรของความต้องการระบบและค้นหาผู้ที่เกี่ยวข้องกับ
โครงการ (Stakeholders) ได้แก่ • เจ้าของ • ผู้ใช้ระบบ • นักออกแบบระบบ
• นักพัฒนาระบบ • นักวิเคราะห์ระบบ • Vendor and Consultant
➢ หลักการในการค้นหาความต้องการค านึงถึง (5W + 1H)
Who มีใครเกี่ยวของบ้าง? บทบาทของแต่ละคนนั้น คืออะไร? ใครเป็น
บุคคลแท้จริงที่ร้องขอเพื่อพัฒนาระบบใหม่
What อะไรคือสิ่งที่ท าให้เกิดปัญหา? ระบบที่ต้องการหรือระบบที่อยากได้
คือ ระบบอะไร? มีฟังก์ชั่นการท างานอะไรบ้าง?
When ระบบติดตั้งได้เมื่อไร? ผู้สนับสนุนเงินทุนพร้อมที่จะสนับสนุน
เมื่อไร? ทดสอบระบบใหม่เมื่อไร?
Where บริเวณสถานที่ใด ที่ระบบใหม่สามารถด าเนินการได้อย่าง
เหมาะสม
Why ท าไมต้องแสวงหาระบบใหม่? ท าไมผู้ใช้จึงเชื่อว่าระบบใหม่สามารถ
แก้ไขปัญหาได้?
How ระบบใหม่จะท างานได้อย่างไร มีข้อจ ากัดหรือไม่อย่างไร
• เทคนิคการรวบรวมความต้องการ
➢ แบบดั้งเดิม • สัมภาษณ์ • แบบสอบถาม • สังเกต • ศึกษาและรวบรวมเอกสาร
➢ แบบสมัยใหม่ • การออกแบบแบบมีส่วนร่วม (Joint Application Design :
JAD) • การใช้ระบบต้นแบบเพื่อก าหนดความต้องการของระบบ (Prototyping)
• การสัมภาษณ์และสนทนากับผู้ใช้
• ค าถามแบ่งได้กี่แบบ
มีรูปแบบพื้นฐานอยู่เพียง 2 แบบ ได้แก่ ค าถามประเภทปลายเปิดซึ่งไม่ชี้แนะ และ
ค าถามปลายปิด ซึ่งชี้แนะ
➢ ค าถามปลายเปิด ค าถามปลายเปิด เป็นค าถามที่ใช้เพื่อจูงให้มีการตอบสนอง
กระจายในวงกว้างส าหรับข้อปัญหาใหญ่ ๆ ค าถามประเภทนี้ ถามได้ในหลายรูปแบบ
กรณีใช้แบบสอบถาม แบบสอบถามแบบปลายเปิด (Open-ended Form)
แบบสอบถามแบบนี้ไม่ได้ก าหนดค าตอบไว้ ผู้ตอบสามารถเขียนตอบ หรือ แสดงความคิดเห็นได้อย่าง
อิสระด้วยค าพูดของตนเองคล้ายกับข้อสอบแบบอัตนัย
➢ ค าถามประเภทปลายปิด ค าถามปลายปิดต้องการค าตอบแคบ ๆ ต่อปัญหา
เฉพาะเจาะจง ค าตอบต่อค าถามเหล่านี้ส่วนใหญ่คือ “ใช่, ไม่ใช่” หรือ อาจจะเป็นค าตอบอื่น ๆ ที่สรุปสั้น
ๆ
รายงานโครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์ หน้า 15