Page 15 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
P. 15
โครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
รูปแบบของการจัดการ (Stakeholder Model) (Kru Kanta, 2555, [ออนไลน์])
1. การพรรณนา (Descriptive) เป็นข้อมูลที่อธิบายถึงรายละเอียดขององค์การและผู้ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้อง คล้ายกับหมวดน า (ลักษณะส าคัญ) ของแบบฟอร์ม PMQA เมื่อเข้าใจสิ่งเหล่านี้จะท าให้
สามารถอธิบายได้ว่า องค์การท างานได้อย่างไร
2. มีเครื่องมือช่วยวิเคราะห์ (Instrumental) เช่น ตารางผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (ตาราง 4 ช่อง
4 สีที่แสดงในตัวอย่าง) เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์มากในการเชื่อมโยง ประสานผลประโยชน์ระหว่าง
การจัดการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับผู้ที่ได้รับผลจากเป้าหมายในการด าเนินงานขององค์การ หรือ จะใช้
เครื่องมืออย่างง่าย เช่น force-field Analysis เป็นต้น
3. รูปแบบอย่างหยาบโดยปกติทั่วไป แสดงถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยจ าแนกได้จาก
ผลประโยชน์ที่ได้รับจากองค์การ
60203 รวบรวมความต้องการของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ
การวิเคราะห์ความต้องการ (Requirements Analysis)
การวิเคราะห์ความต้องการเป็นกระบวนการของการสร้างแผนงาน (plan) เพื่อแสดงให้เห็น
ถึงโครงร่าง กระบวนการท างานของระบบว่าท างานอย่างไร (how) สอดคล้องกับจุดประสงค์และ
ความต้องการหรือไม่ จึงสรุปได้ว่าการวิเคราะห์ความต้องการ คือ การรวบรวมรายละเอียดต่าง ๆ เพื่อ
จุดประสงค์ในการหาข้อสรุปที่ชัดเจนในด้านของความต้องการ (Requirements) ระหว่างผู้พัฒนากับ
ผู้ใช้งาน เพื่อใช้ในขั้นตอนของกระบวนการวิเคราะห์และออกแบบระบบ
• การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)
การรวบรวมความต้องการก่อนที่นักวิเคราะห์ระบบจะเข้าไปค้นหาความต้องการจากผู้ใช้
ตามหน่วยงานต่าง ๆ นักวิเคราะห์ระบบจ าเป็นต้องศึกษารูปแบบองค์กรของหน่วยงานที่จะเข้าไปหา
ข้อมูลเสียก่อน รวมถึงการพิจารณาในส่วนของผู้บริหารระดับสูงว่าให้ความส าคัญต่อการพัฒนาระบบ
ใหม่มากน้อยเพียงไร นักวิเคราะห์ระบบจะต้องสามารถชี้แจงเหตุผลแก่ผู้ใช้ให้ทราบว่า ความต้องการ
เหล่านี้จะเป็นข้อมูลส าคัญต่อการน าไปก าหนดเป็นการท างานของระบบใหม่
ศึกษากิจกรรมหลัก 3 กิจกรรมในการวิเคราะห์ระบบ คือ
➢ ท าความเข้าใจระบบงานเดิม นักวิเคราะห์ระบบจะต้องศึกษาเพื่อท าความ
เข้าใจถึงจุดอ่อน และจุดแข็งของระบบ
➢ ก าหนดสิ่งที่ต้องการปรับปรุงเพิ่มเติม จะท าการก าหนดแนวทางในการ
ปรับปรุงระบบให้เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น ท าให้ทีมงานได้เข้าใจถึงระบบ และรับรู้ถึงแนวทางในการ
ปรับปรุงระบบให้ดีขึ้นอย่างไร
รายงานโครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์ หน้า 13