Page 16 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
P. 16

โครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                        มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                         สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)



                                     ➢  พัฒนาแนวความคิดส าหรับระบบงานใหม่ นักวิเคราะห์ระบบก็จะด าเนินการ

                       พัฒนาแนวคิดของระบบใหม่ด้วยการสร้างแบบจ าลองกระบวนการ และแบบจ าลองข้อมูล
                              •  ชนิดของความต้องการ (Type of Requirements)

                                 ➢  ความต้องการที่เป็นฟังก์ชันการท างาน (Functional Requirement)

                                     ความต้องการที่เป็นฟังก์ชันการท างานเป็นกิจกรรมที่ระบบต้องปฏิบัติงาน เป็น
                       ขั้นตอนการท างานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่าง ๆ เกี่ยวข้องกับผู้ปฏิบัติงาน โดยแต่ละกิจกรรมจะ

                       ก่อให้เกิดผลการด าเนินงานออกมา และโดยปกติ ความต้องการที่เป็นฟังก์ชันการท างานมักเขียนอยู่ใน
                       รูปแบบของกริยา สรุปคือเกี่ยวข้องกับขั้นตอนการท างานที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

                       กับผู้ปฏิบัติงาน

                                 ➢  ความต้องการที่ไม่ได้เป็นฟังก์ชัน (Non- Functional Requirement)
                                     ความต้องการที่ไม่ได้เป็นฟังก์ชันเป็นความต้องการที่เกี่ยวข้องกับการก าหนด

                       คุณภาพในการท างานของซอฟต์แวร์ โดยเป็นการปฏิบัติการเพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ในทุก ๆ ด้านที่

                       เกี่ยวข้องกับสภาพแวดล้อม ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ขององค์กร สรุปคือเกี่ยวข้องกับการก าหนด
                       คุณภาพการท างานของซอฟต์แวร์ เช่น ระบบสามารถรองรับการใช้งานบนเครือข่ายสูงสุดกี่ยูสเซอร์/

                       เวลาตอบสนองการใช้งาน เป็นต้น

                              •  ปัญหาที่มีต่อความต้องการของผู้ใช้ (User requirement) มีอะไรบ้าง
                                 ➢  ยากต่อการท าความเข้าใจ

                                 ➢  มีความสับสน
                                 ➢  ความต้องการผสมรวมกัน

                              •  การวิเคราะห์ความต้องการ (Requirement Analysis) ต้องท ายังไง

                                 ➢  วิเคราะห์ข้อเท็จจริงในข้อมูล
                                 ➢  ก าหนดสาระส าคัญของความต้องการ

                                 ➢  คัดเลือกความต้องการที่ตรงกับวัตถุประสงค์
                              •  หลักในการค้นหาความต้องการที่ดี

                                 การหาความต้องการที่ดีต้องตรงกับวัตถุประสงค์และหาข้อมูลกับบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

                       โดยตรง ควรระบุความต้องการต่าง ๆ ลงในรูปของเอกสารและเข้าใจทั้งสองฝ่าย และต้องตกลง
                       ร่วมกัน (อย่าคิด วิเคราะห์ หรือ ออกแบบด้วยตนเองทั้งหมด) มีกระบวนการดังนี้

                                     ➢  ค้นหาความต้องการกับบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรง

                                     ➢  ระบุความต้องการในรูปแบบเอกสาร มีการท าความตกลงทั้งสองฝ่าย
                                     ➢  เขียนค าจ ากัดความบนเอกสาร







                       รายงานโครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์     หน้า 14
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21