Page 57 - สุขอนามัยฟาร์มเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
P. 57
สภาพการเลี้ยงและพื้นที่เลี้ยง ปัญหา
5. มีของเสียจากการขับถ่ายของ - มีการหมักหมมของตะกอนจนเกิดการเน่าเหม็น
ปลาสะสมในกระชัง - ปริมาณออกซิเจนในน้ำลดลง ทำให้คุณภาพ
น้ำเสื่อมโทรม
6. จำนวนแถวของกระชังเลี้ยง
ปลาในลำน้ำ
6.1 มีการเลี้ยงที่มีจำนวน - มีการไหลของน้ำในลำน้ำ สะดวกยิ่งขึ้น
คู่มือวิชาการ เรื่อง แนวทางการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ประเภท การเลี้ยงสัตว์น้ำ
กระชังไม่มาก โดยวางกระชัง - ทำให้ไม่มีการหมักหมมของตะกอนจนเกิดการ
1 – 2 แถว ในลำน้ำ เน่าเหม็น
- ปริมาณออกซิเจนในน้ำเพิ่มขึ้น ทำให้คุณภาพ
น้ำ ไม่เสื่อมโทรม
6.2 มีการเลี้ยงที่มีจำนวน - กีดขวางการไหลของกระแสน้ำในลำน้ำ ทำให้
กระชังจำนวนมาก โดยวาง เกิดภาวะน้ำนิ่ง
กระชังหลายๆ แถว ในลำน้ำ - มีการหมักหมมของตะกอนจนเกิดการเน่าเหม็น
- ปริมาณออกซิเจนในน้ำลดลง ทำให้คุณภาพ
น้ำเสื่อมโทรม
7. แต่ละกลุ่มผู้เลี้ยงมีการวาง - กีดขวางการไหลของกระแสน้ำในลำน้ำ ทำให้
กระชังใกล้ชิดกันอย่างต่อเนื่อง เกิดภาวะน้ำนิ่ง
มากเกินไป (ไม่มีระยะห่างของ - มีการหมักหมมของตะกอนจนเกิดการเน่าเหม็น
แต่ละกลุ่ม/ระยะห่างแต่ละกระชัง) - การบำบัดน้ำโดยจุลินทรีย์ทำให้ปริมาณ
ออกซิเจนในน้ำลดลง ทำให้คุณภาพน้ำในแหล่ง
น้ำนั้นเสื่อมโทรม
50