Page 19 - คู่มือยืมคืนเงินทดรองจ่าย
P. 19

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่องการยืม-คืนเงินทดรองจ่าย เขตพื้นที่อุเทนถวาย







                              2. วิเคราะห์/วิจัยที่เกี่ยวข้อง
                              จากการศึกษางานวิเคราะห์/วิจัยที่เกี่ยวข้อง ได้รวบรวมขอมูลกับการศึกษาเงินยืมทดรองจ่าย
                                                                            ้
                       ราชการ พบงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังนี้
                              เบ็ญจพรรณ พนธุบุญเลิศ (2550) ได้ศึกษาระบบเงินยืมทดรอง ระบุปัญหาที่พบพร้อมทั้ง
                                           ั
                       เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจากการใช้ระบบเงินยืมทดรองผ่านระบบ เครือข่าย
                       บัญชีสามมิติ และจัดท าคู่มือปฏิบัติงานของระบบเงินยืมทดรองผ่านระบบเครือข่ายบัญชี สามมิติ วิธี
                       การศึกษาประกอบด้วย ระบบเงินยืมทดรองของหน่วยงานในสังกัดพบว่าปัญหาที่ พบ ประกอบด้วย
                       ปัญหาจากการท างานของระบบ ปัญหาจากการปฏิบัติงานที่ซับซ้อน ปัญหาจากการ ท างานของเครื่อง

                            ิ
                       คอมพวเตอร์ รวมทั้งปัญหาจากผู้ปฏิบัติงานและทีมงานพฒนาระบบ จาก ปัญหาดังกล่าวจึงได้
                                                                         ั
                                                                                  ื่
                                                                   ื่
                       เสนอแนะตามแนวทางของกฎระเบียบและข้อบังคับอนๆ ที่เกี่ยวข้องเพอปรับปรุง ความถูกต้องของ
                       ระบบและลดความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานท าให้การรายงานที่เกิดขึ้นมีความ
                       ถูกต้อง ผู้ปฏิบัติงานท าการเบิกจ่ายเงินยืมทดรองได้ทันเวลาและติดตามการช าระคืนเงินของลูกหนี้
                       เงินยืมทดรองได้นอกจากนี้ผู้บริหารสามารถตรวจสอบความเคลื่อนไหวของเงินยืมทดรองได้ ระบบเงิน
                       ยืมทดรองผ่านระบบเครือข่ายบัญชีสามมิติมีขั้นตอนการท างานทั้งหมด 6 ขั้นตอน ผู้ศึกษาได้อธิบาย
                       รายละเอยดการปฏิบัติงานของแต่ละขั้นตอน ซึ่งสามารถน ามาใช้เป็นคู่มือปฏิบัติ งานเพอให้การ
                              ี
                                                                                                  ื่
                       ปฏิบัติงานมี ความสะดวกและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                              วนิดา ปอน้อย (2553) ได้ศึกษาเรื่อง ความเสี่ยงจากการปฏิบัติไม่เป็นไปตามกฎระเบียบ
                       ข้อบังคับด้านการเงินและพัสดุ พบว่า กฎ ระเบียบ ข้อบังคับทางด้านการเงินและพัสดุมีขนตอนยุ่งยาก
                                                                                               ั้
                       ซับซ้อนยากต่อการท าความเข้าใจ ล้าสมัยไม่เหมาะสมกับสภาพงานปัจจุบัน เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติงาน
                       ขาดความรู้ความเข้าใจในระเบียบที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ให้ ผู้เกี่ยวข้อง

                       เข้าใจได้
                                                                  ุ
                                                     ื่
                                                                                                     ื่
                              รัชนี ไชยศาสตร์ (2553) เพอศึกษาปัญหาอปสรรคในการด าเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพอการ
                       ผลิต เพอเปรียบเทียบผลการด าเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพอการผลิตพบว่าใช้เงินยืมผิดวัตถุ ประสงค์
                                                                       ื่
                             ื่
                       และไม่ส่งใช้คืนเงินยืมตามก าหนด อนๆ ใด เงินยืมไม่เพยงพอกับความต้องการของสมาชิก การจัด
                                                                      ี
                                                     ื่
                       สวัสดิการไม่ทั่วถึงและขาดสถานที่ท าการกลุ่ม
                              ถนอม ภาคหาญ (2556) ได้ศึกษาส่วนที่เกี่ยวกับเงินยืมราชการและเงินทดรองราชการ
                       ปัญหาอาจเกิดจากเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการเงินที่ ส่วนใหญ่ ไม่ได้จบสาขาการเงิน การบัญชีมา
                       โดยตรง ประกอบกับส านักงานอยการสูงสุดมีการโยกย้ายข้าราชการ และขาราชการที่รับต าแหน่งใหม่
                                                 ั
                                                                                    ้
                                                                        ้
                       ก็ไม่ได้จบสาขาการเงินการบัญชี จึงท าให้ขาดความรู้ ความเขาใจในงานด้านการเงินการบัญชีหรือผู้ยืม
                       ซึ่งไม่เข้าใจในกระบวนการเบิกจ่ายเงิน จึงท าให้ปฏิบัติไม่ถกต้องตามข้อกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ที่
                                                                      ู
                       เกี่ยวข้อง
                              สุทัตตา กันทะวาด (2556) ได้ท าการศึกษาเรื่อง การบริหารความเสี่ยงระบบเงินทดรอง
                       ราชการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมีวัตถุประสงค์เพอศึกษามุมมองและความคาดหวังของผู้บริหาร
                                                                   ื่
                       กองคลัง ผู้ปฏิบัติงานและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับระบบเงินทดรองราชการ มหาวิทยาลัยขอนแก่นและ
                       เสนอแนวทางการบริหารความเสี่ยงให้กบระบบเงินทดรองราชการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยใช้แบบ
                                                       ั




                       แผนกการเงินและเบิกจ่าย เขตพื้นที่อุเทนถวาย                                  หน้า 14
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24