Page 20 - คู่มือยืมคืนเงินทดรองจ่าย
P. 20

คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่องการยืม-คืนเงินทดรองจ่าย เขตพื้นที่อุเทนถวาย







                       สัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างและการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมเป็นเครื่องมือ และเก็บรวมรวมข้อมูล
                       จากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารกองคลัง ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบเงินทดรองราชการ และผู้มี
                                                    ื่
                       ส่วนได้ส่วนเสียจากการเก็บข้อมูลเพอศึกษาและวิเคราะห์ความเสี่ยงแล้ว ได้ความเสี่ยงทั้งหมด 10 ข้อ
                       และปัจจัยเสี่ยง 28 ข้อ ซึ่งแต่ละความเสี่ยงประกอบไปด้วยหลายปัจจัย เมื่อเลือกระดับค่าคะแนนสูง

                       และสูงมากเพอเสนอแนวทางการบริหารความเสี่ยง พบว่ามีความเสี่ยงที่ต้องด าเนินการทั้งหมด 5 ข้อ
                                  ื่
                       ได้แก่ (1) ประสิทธิภาพในการบริหารเงินสด (cash Flow) ลดลง และเสียโอกาสในการได้รับ
                       ผลตอบแทนจากการลงทุน (2) ไม่สามารถติดตามทวงหนี้คงค้าง (3) ความน่าเชื่อถือและภาพลักษณ์ที่
                       ดีขององค์กรลดลง (4) การทุจริตในหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน (5) ระบบปฏิบัติการให้ข้อมูลไม่ถกต้อง ซึ่ง
                                                                                                  ู
                       มีแนวทางการบริหารความเสี่ยงตามล าดับต่อไปนี้ (1) จัดตั้งวงเงินส ารองและปรับปรุงวิธีการจัดสรร
                       เงินทุนหมุนเวียนของคณะ/หน่วยงาน (2) ปรับปรุงประกาศที่ใช้บังคับและทบทวนกระบวนการ
                       ติดตามหนี้และจัดท าปฏิทินการท างาน (3) สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงาน (4) มีกระบวนการสอบทาน
                       เป็นล าดับขั้น (5) พัฒนากระบวนการปฏิบัติให้เชื่อมโยงกันเพื่อข้อมูลที่ถูกต้อง

                              เกียรติคุณ เรืองสุวรรณ (2560) ได้ท าการศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์ระบบบริหารเงินทดรอง
                       ราชการ:กรณีศึกษาวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ระหว่างปีงบประมาณ
                       พ.ศ.2553 – 2557 โดยมีวัตถุประสงค์ เพอวิเคราะห์ระบบงาน การปฏิบัติงานและการบริหารเงินทด
                                                         ื่
                       รองราชการ และได้คู่มือปฏิบัติงานเรื่องเงินทดรองราชการ วิทยาลัยการเมืองการปกครอง
                       มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โดย การศึกษาค้นคว้าเอกสารในปีงบประมาณ 2553 – 2557 รวม 5 ปี
                       ย้อนหลัง พบว่า มีปัญหาในการเคลียร์เอกสารเงินยืมทดรองราชการเป็นจ านวนคิดเป็นร้อยละ 40 ซึ่ง
                       ส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในขั้นตอนการยืมเงินทดรองราชการส่งผลให้ผู้ยืมเงินทดรองราชการต้องจ่าย
                       ดอกเบี้ย และการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมเป็นเครื่องมือ และ

                                  ้
                       เก็บรวบรวมขอมูล จากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ นิสิตวิทยาลัยการเมืองการ
                                                          ่
                       ปกครองที่ยื่นค าร้องขอยืมเงินทดรองราชการ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ยืมเงินทดรองราชการส่วนมาก
                       ไม่ทราบขั้นตอนการด าเนินงานเคลียร์เอกสาร (2) ผู้ยืมเงินทดรองส่วนมากไม่ทราบว่ามีก าหนด

                       ระยะเวลาในการเคลียร์เงินยืมทดรองราชการ (3) ผู้ยืมเงินทดรองราชการส่วนมากไม่ทราบว่าต้องมี
                       การจ่ายดอกเบี้ย (4) ผู้ยืมเงินทดรองราชการใช้จ่ายเงินไม่ตรงตามที่ขออนุมัติจึงไม่สามารถหาเอกสาร
                       เคลียร์เงินยืมทดรองราชการได้ส่งผลให้ต้องคืนเงินสด (5) เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบเคลียร์เงินยืมไม่อยู่
                       เจ้าหน้าที่ในฝ่ายไม่สามารถปฏิบัติงานแทนได้ โดยสรุป จากผลการวิจัยที่ได้ 5 ข้อ ดังกล่าว จึงได้

                       จัดท าคู่มือการปฏิบัติงานว่าด้วยเงินทดรองราชการ เพอลดคลาดเคลื่อนของข้อมูลในการเคลียร์เงินยืม
                                                                   ื่
                       ของผู้ยืมเงินทดรองราชการ และเพอเป็นคู่มือปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่งานการเงินและบัญชี ปฏิบัติ
                                                    ื่
                       ราชการได้อย่างคล่องตัวและมีประสิทธิภาพ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหาสารคามว่าด้วยเงินทดรอง
                       ราชการของหน่วยงานจากเงินรายได้ พ.ศ. 2552 ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ว่า

                       ด้วยเงินทดรองราชการจากเงินรายได้ พ.ศ.2552 และนอกเหนือจากนี้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานของ
                       วิทยาลัยการเมืองการปกครองต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์เรื่องเงินทดรองราชการของกองคลังและพัสดุ
                       ส านักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
                              กนกอร สีแสง (2562) ได้ท าการศึกษาเรื่อง การใช้จ่ายเงินยืมทดรองจ่ายของส่วนงาน สังกัด

                                                                                           ื่
                       มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจ าปีงบประมาณ 2559-2561 โดยมีวัตถุประสงค์ เพอวิเคราะห์การใช้

                       แผนกการเงินและเบิกจ่าย เขตพื้นที่อุเทนถวาย                                  หน้า 15
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25