Page 51 - ทั้งหมด
P. 51
4. 4.พักผ่อนอย่างเพียงพอ ไม่ท างานหนัก งดออกก าลังกายแขนและขา ข้างที่ท าหัตถการ ประมาณ 1 สัปดาห์
ั
ั
5. 5.รบประทานยาอย่างสม ่าเสมอ และมารบการตรวจอย่างสม ่าเสมอตามนัด
ี
ั
้
่
่
ื
ี
่
การพยาบาลผูปวยหลงผาตดท าทางเบยงหลอดเลอดแดงโคโรนาร(CABG )
ั
ู
่
ั
ิ
่
่
่
ื่
่
ึ
1. การดแลระบบทางเดนหายใจ หลัง ผ่าตัดผู้ปวยจะได้รบการใสท่อชวยหายใจและใช้ เครองชวยหายใจ ซงต้องดแลให้
ู
ิ
ุ
ี
ได้รบออกซเจน มอัตราการหายใจที่เพียงพอ การไหลเวียนเลือด คงที่และไมมภาวะแทรกซ้อนที่รนแรง จากการ ศึกษา
่
ั
ี
่
่
่
ิ
่
ึ
ื
พบว่า ผู้ปวยจะมีภาวะแทรกซ้อนมากข้น เชน ภาวะปอดแฟบและปอดตดเช้อ หากใสทอ ช่วยหายใจนานกว่า 24 ชั่วโมง ส่ง ิ
่
ที่ดีที่สด คือ ไม่ควรมากกว่า 12 ชั่วโมง การถอดทอชวยหายใจ เรว (fast track) ยังช่วยลดระยะเวลาในการอยู่ หอผู้ปวยวิกฤต
่
่
็
ุ
้
่
และระยะเวลาการอยู่โรงพยาบาล อีกด้วย ก่อนถอดท่อ ช่วยหายใจจะต้องประเมินความพรอมของผู้ปวย เช่น ความสามารถ
ในการโต้ตอบ การหายใจด้วย ตนเอง การไอขับเสมหะด้วยตนเองโดย ต้องสามารถหายใจได้ปรมาตรอากาศ (tidal volume)
ิ
ิ
่
ั
อย่างน้อย 5 มลลิลิตรตอน ้าหนักตัว 1 กิโลกรม พยาบาลควรช่วยผู้ปวยจัดการอาการ ปวดโดยไม่กระทบต่ออัตราการหายใจ
่
ิ
ิ
์
่
่
่
็
ด้วยการ ฝกการหายใจและการไอมีประสทธภาพ การ เคลือนไหวรางกายโดยเรว การใช้อุปกรณเพือเพิ่ม การขยายตัวของ
ึ
์
ปอด (incentive spirometer) และการเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเน้อหายใจ เข้าโดยใช้อุปกรณ (pressure threshold loading
ื
device)
2. การดูแลระบบไหลเวียนเลือด ส่งท ต้องประเมิน คือ จังหวะและอัตราการเต้นของ หัวใจ preload, afterload, contractility
ี
ิ
่
ิ
ี
และ myocardial compliance ซง preload แสดงถึง ปรมาณเลือดที่ไหลกลับไปยังเอเตรยมขวาและ myocardial compliance
ึ
่
ี
ค่า afterload เกิดจาก แรงบีบของเวนตรเคิลซ้ายเพื่อต้านแรงดันเลือด ซสโตล ซงบงช้การบบและคลายตัวของกล้ามเน้อ
่
ื
ิ
่
ี
ี
ึ
ึ
หัวใจ ดังนั้น จงต้องตดตามคา Right Atrial Pressure (RAP) และ Pulmonary Capillary Wedge Pressure (PCWP) หากความ
่
ิ
ี
่
ดันโลหต ต าเกินไป อาจบงช้ preload ที่ไม่เพียงพอ การบีบ ตัวของหัวใจลดลงและ SVR ลดลงจากเส้นเลือด ขยายตัว หากค่า
่
ิ
่
่
ิ
ั
ื
ื
ิ
B.P., C.O., และ/หรอ RAP/ PCWP ผิดปกต ผู้ปวยอาจได้รบยาหรอสารน ้า เพิ่มเตม เชน คอยลอยด์, Packed Red Cells,
่
ึ
ิ
inotropic, dopamine, constrictive agent ควร จัดท่าผู้ปวยนอนหงายพรอมยกขาสง ซงจะช่วย เพิ่มความดันโลหตได้ชั่วคราว
่
ู
้
หากเปนการผ่าตัดซ ้าและได้รบยาไนโตรปรสไซด์หรอไนโตรกลีเซอรนเนองจากมเลือดออก ในช่องอกหรอการแลกเปลี่ยน
ื
ี
ื
่
ั
ั
ื
็
ี
้
่
ิ
ิ
ิ
ั
่
ก๊าชไมเพียงพอ หลังผ่าตัดจะต้องรกษาอุณหภูมให้ปกตด้วยการ หมผ้าและให้ออกซเจนอุ่นเพื่อปองกันการกด การท างาน
ุ
ของเยื่อห้มหัวใจ ventricular dysrhythmias การหดตัวของหลอดเลือดและ การกดการท างานของปจจัยการแข็งตัวของเลือด
ั
ี
ิ
ั
ซงจะท าให้เลือดออกงาย กรณได้รบสารน ้าเพิ่ม เติมจะต้องประเมินความดันเลือดแดงในปอด CO และ ความดันโลหตทุก
่
ึ
่
30-60 นาที ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเกิดได้บ่อยใน ชวงหลังผ่าตัดทันที ขณะที่ supraventricular dysrhythmia จะเกิดช่วง
่