Page 52 - ทั้งหมด
P. 52
ุ
ื
่
ิ
ิ
ุ
24 ชั่วโมง-5วันแรก สาเหตอาจเกิดจากอุณหภูมกายต า ยาสลบ สาร น ้าไมสมดล กรดแลกตคคั่ง การป๊มหัวใจ กล้าม เน้อ
ั
่
ี
ิ
ี
ึ
ู
ิ
หัวใจขาดเลือด มแคทีโคลามนสงจากความ รสกเจ็บปวดและการได้รบยาสลบปรมาณน้อย จง ควรประเมนอัตราและ
ั
ึ
้
ู
่
์
็
้
ิ
ึ
จังหวะการเต้นของหัวใจ เปนระยะ การศึกษาพบว่าอุบัตการณของหัวใจ ห้องบนสั่นพลิ้วพบได้รอยละ 10-65 แตก็ข้นอยู ่
ั
ี
กับประวัติสวนบุคคล ยาที่ได้รบก่อนผ่าตัดและ ชนดของการผ่าตัด กรณผู้ปวยใส epicardial wires บนเอเตรยมหรอ เวนตร ิ
ี
่
ิ
่
่
ื
เคิลต้องตรวจสอบ CI BP และดูแลให้ได้รบอะโทรปนตามแผนการ รกษาเพือเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ EKG อย่าง น้อย
่
ั
ี
ั
48-72 ชั่วโมงหลังผ่าตัด เพราะภาวะหัวใจ เต้นผิดจังหวะมักเกิดหลังผ่าตัด 2-4 วัน
3. การจัดการภาวะเลือดออก ส่งทต้อง ประเมน คือ ปรมาณเลือดจาก chest tubes และบรเวณแผลผ่าตัด อาการแสดงของ
ิ
่
ี
ิ
ิ
ิ
่
ี
ี
hypovolemia ค่า hemoglobin และ hematocrit ภาวะ cardiac temponade เพราะ บงช้การมเลือดออกทเยือห้มหัวใจ เชน
่
ุ
ี
่
่
ปรมาณ เลือดที่ออกจากสายระบายทรวงอกลดลง ความ ดันโลหตต า pulse pressure แคบ อัตราการเต้น ของหัวใจเรว
ิ
ิ
็
่
็
jugular venous distention, elevated central venous pressure และ muffled heart sounds เปนต้น
ี
่
่
ึ
4. การดแลระบบประสาท อาการทาง ระบบประสาทที่อาจพบ เชน stroke จาก hypoperfusion หรอ embolic ทเกิดข้น
ู
ื
ื
ระหว่าง ผ่าตัด ซงมักมประวัตโรคหลอดเลือดสมอง carotid bruits หรอความดันโลหตสงมาก่อนหน้า รวมทั้งเปนผลจาก
ิ
่
ี
ู
็
ึ
ิ
ิ
์
็
ู
์
ึ
ฤทธของยา neuromuscular blocking agents จงควรตรวจรม่านตาเปนระยะ หลังจากที่ถอดอุปกรณต่าง ๆ ออกแล้ว พยาบาล
ควรประเมนความสามารถในการท าตามค าสั่งได้ การเคลื่อนไหวของแขนขาอย่างแข็งแรงและ สมดุลและความสามารถใน
ิ
การตอบสนองต่อ บุคคล เวลา สถานที่และสภาพแวดล้อม
5. การดแลระบบทางเดนปสสาวะ ภาวะแทรกซ้อนในระบบน้สัมพันธกับอายุทมาก ข้น ความดันโลหตสง เบาหวาน การ
์
่
ู
ี
ึ
ี
ิ
ิ
ู
ั
ท างานของ หัวใจห้องล่างซ้ายน้อยกว่าปกตและระยะเวลา การท า CPB CO ทดบงช้ถึง renal perfusion ที่ เพียงพอ สารน ้า
ี
ี
ิ
่
ี
่
ิ
่
ึ
เคลื่อนย้ายจาก interstitial ไปยัง intravascular space ได้ดี ซงประเมินได้จากปรมาณปสสาวะมากกว่า 0.5 mL/kg/h พยาบาล
ั
จะต้องตวงปสสาวะทกชั่วโมงหลังผ่าตัด ประเมน ระดับโปแตสเซยมทุก 4-6 ชั่วโมงในชวง 24 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัด
ี
ิ
่
ั
ุ
รวมทั้งควรประเมน Blood Urea Nitrogen และซร่มครอาตนนทกวัน
ุ
ี
ั
ิ
ิ
ิ
ี
ี
6. การดูแลระบบทางเดินอาหาร ภาวะ แทรกซ้อนน้ ได้แก่ แผลในกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารทะลุ ตับอ่อนอักเสบ ถุง
ิ
ี
น ้าด อักเสบเฉยบพลัน ภาวะล าไส้ขาดเลือด ถุงผนังล า ไล้ใหญอักเสบและตับท างานผิดปกต พยาบาล ควรประเมนเสยง
ิ
ี
่
ี
่
ู
เคลื่อนไหวของล าไส้ อาการท้อง อืด คลื่นไส้และอาเจยน ผู้ปวยที่ใสสายทางจมก แล้วตอกับเครองดดเสมหะจะต้อง
ื่
ู
ี
่
่
ี
่
ิ
่
ตรวจสอบ ต าแหนงของสายและแรงดูด ปรมาณ สและ ลักษณะของสารคัดหลั่งและทันททถอดสายยาง ออก ควรดูแลผู้ปวย
่
ี
ี
ั
ให้ได้รบอาหารเหลว
7. การดูแลอาการปวด การใช้ retractors ระหว่างผ่าตัดและ electrocautery จะท าให้เกิด ความเจ็บปวดหลังผ่าตัด นอกจากน้ ี
ี
ท่านอน ระหว่างผ่าตัดและระยะเวลาผ่าตัดอาจมผลต่อ ความเจ็บปวดด้วย จากการศึกษา กึงทดลอง พบว่าการดูแลบาดแผล
่
deep sternal wound ทดจะชวยลดการตดเช้อ S. aureus และ coagulase negative staphylococcus ที่ บาดแผลได้ การจัดการ
ื
ี
่
่
ิ
ี
ความปวดที่ไม่ดีพออาจ กระต้นประสาทซมพาเทติคให้อัตราการเต้นของ หัวใจเพิ่มข้นและเส้นเลือดหดตัว การจัดการความ
ุ
ิ
ึ
ุ
ู
่
ปวดที่ดีจะช่วยให้ผู้ปวยรสกสขสบาย ระบบไหล เวียนสมดุล และลดภาวะแทรกซ้อนที่ปอด หากได้ ยาระงับปวดแบบเสพ
ึ
้
ิ
ี
ื
ติดหรอยา NSAID เช่น ketorolac จะต้องประเมินการมีเลือดออกใน ระบบทางเดินอาหารและ ค่าครอาตินน จัดท่า และสอน
ิ
การเปลี่ยนท่าทาง วิธประคองบาดแผล ขณะไอและเทคนคการผ่อนคลาย
ี