Page 198 - Bright Spot 2563
P. 198

บทสรุปผู้บริหาร

                    ปัจจุบันมีเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง รวมไปถึงวิถีชีวิตของผู้คน การระบาด
              ของโรคติดต่อและการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ท าให้มีประชาชนเข้ารับบริการทางด้านสุขภาพมากขึ้น

              ประชาชนต่างมีความคาดหวังจากการรับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพสูงขึ้น ด้วยภารกิจการให้บริการ
                                                                                        ื้
              ทางด้านสุขภาพ ได้แก่ การวินิจฉัย รักษา รวมถึงการด าเนินป้องกันส่งเสริมสุขภาพ การฟนฟผู้ป่วย
                                                                                           ู
              อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถท าให้ผู้ป่วยกลับไปใช้ชีวิตอย่างปกติสุข บางครั้งอาจท าให้บุคลากร
              ทางการแพทย์เผชิญกับความกดดัน ความเครียด และภาระงานที่มากขึ้น ท าให้ความสุขลดลง
              ซึ่งองค์กรจะมีความมั่นคง และสามารถขับเคลื่อนการท างานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ได้ บุคลากรถือ

              เป็นทรัพยากรที่ส าคัญที่สุดขององค์กร ดังนั้น การสร้างสุขในองค์กรจึงเป็นเรื่องที่ส าคัญและ
                                                                                            ั
              มีความจ าเป็นอย่างยิ่ง การจัดการให้องค์กรมีความสุข ส่งผลให้บุคลากรมีความรัก ความผูกพนต่อ
              องค์กร มีความสุขและความมุ่งมั่นที่จะนาองค์กรบรรลุเป้าหมายต่อไปได้ โดยเริ่มที่ผู้บริหาร

              ต้องให้ความส าคัญของบุคลากรเป็นล าดับแรก ให้การสนับสนุนและมีส่วนร่วมในกระบวนการ
              สร้างสุขในองค์กร ด าเนินการขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุขควบคู่ไปกับการพฒนาโรงพยาบาล
                                                                                 ั
              เพื่อส่งเสริมให้โรงพยาบาลแพร่บริการเป็นเลิศ สิ่งแวดล้อมดี บุคลากรมีความสุข ประชาชนไว้วางใจ
              (A trustworthy hospital with high quality healthcare services in happy and friendly
              environment)

              ปัจจัยแห่งความส าเร็จ
                    1. ผู้บริหารและทีมน าเห็นความส าคัญของการสร้างสุขในองค์กร และให้การสนับสนุน

              การด าเนินงานพัฒนา
                    2. การก าหนดผู้รับผิดชอบ ก าหนดนโยบายในการด าเนินงานที่ชัดเจน สอดคล้องกับวิสัยทัศน์
              พันธะกิจ และยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล

                                                                                         ั
                    3. การประเมินดัชนีความสุขของบุคลกรอย่างต่อเนื่อง และน าผลมาจัดท าแผน เพอพฒนาและ
                                                                                      ื่
              แก้ไขปัญหา ตลอดจนการวางแผนการประเมินโครงการ เพื่อน าเสนอต่อผู้บริหารองค์กร
                    4. การมีส่วนร่วมของบุคลกรโรงพยาบาลแพร่ทุกระดับ ตลอดจนภาคีเครือข่าย ในการด าเนินการ
              พัฒนาโรงพยาบาลแพร่สู่องค์กรแห่งความสุข
              ข้อเสนอเพื่อการพัฒนา

                    การประเมินสุขภาวะองค์กร (Happy Public Organization Index: HPI) และ ประเมินดัชนี
              ความสุขของคนท างาน (Happinometer) เป็นการประเมินการสร้างสุขทั้งระดับบุคคล และองค์กร

              ควรมีการท าเนินการอย่างต่อเนื่องสม่ าเสมอ เพราะมีความส าคัญยิ่งต่อการด าเนินงานตาม
              ยุทธศาสตร์การบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมมาภิบาล (Governance Excellence): องค์กรแห่งความสุข
              สามารถน าผลที่ได้จากการประเมินมาวิเคราะห์หาสาเหตุ ปัญหาได้อย่างครอบคลุม น าไปสู่การพัฒนา

              รูปแบบ/กิจกรรมการส่งเสริมการสร้างสุขในองค์กรที่หลากหลาย และตอบสนองให้บุคลากรมี
              ความสุขในการท างาน มีความผูกพันต่อองค์กร






                                                                                           184
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203