Page 105 - Advande_Management_Ebook
P. 105

พลต�ารวจตรี ดร.สุพิศาล ภักดีนฤนาถ                              103



             ตามภาพประกอบ 14 จะเป็นการจัดหาแนวทางแก้ไขและปรับปรุงการด�าเนินงาน
             โดยพิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นของกระบวนการท�างานภายในองค์กร และผลกระทบ

             จากลูกค้าภายนอกองค์กร มาน�ามาปรับปรุงสร้างกลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพดีและ
             ประสิทธิผลดียิ่งขึ้น เมื่อองค์กรได้ปรับเปลี่ยนเข้าสู่ระบบ Balanced Scorecard เต็ม
             ระบบแล้ว Balanced Scorecard จะช่วยปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธ์ขององค์กรจาก

             ระบบ “การท�างานตามค�าสั่งหรือสิ่งที่ได้เรียนรู้สืบทอดกันมา (Academic Exercise)”
             ไปสู่ระบบ “การร่วมใจเป็นหนึ่งเดียวขององค์กร (Nerve Center of an Enterprise)

                    ในหลักการบริหารที่ใช้เครื่องมือนี้ มิใช่เป็นเพียงการบริหารงานและการสร้าง
             กลยุทธ์เท่านั้น ยังสามารถน�าไปใช้ที่แสดงถึงการสร้างตัวชี้วัด KPIs (Key Perfor-
             mance Indictors) เพื่อวัดผลลัพท์ที่ต้องการ Balanced Scorecard จะยังคงค�านึง

             ถึง มุมมองของการวัดผลทางการเงิน (Financial Measures) อยู่เหมือนเดิม แต่
             ผลลัพธ์ทางการเงินที่เกิดขึ้นจะบอกถึงสิ่งที่เกิดขึ้นกับองค์กร ในช่วงที่ผ่านมาบอก

             ถึงเรื่องราวของความสามารถกับอายุขององค์กร แต่มันไม่ได้บอกถึงความส�าเร็จของ
             องค์กร ที่จะมีต่อผู้ลงทุนที่จะมาลงทุนระยะยาวโดยการซื้อหุ้นขององค์กร และความ
             สัมพันธ์ของลูกค้า (Customer Relationships) แต่อย่างใด จะเห็นได้ว่าเพียงการ

             วัดผลทางการเงินด้านเดียวไม่เพียงพอ แต่อย่างไรก็ตามมันก็ใช้เป็นแนวทางและการ
             ตีค่าของผลการประกอบการขององค์กร ใช้เป็นข้อมูลที่จะเพิ่มมูลค่าขององค์กร

             ในอนาคตและสร้างแนวทาง ส�าหรับ ลูกค้า (Customers) ผู้ขายวัตถุดิบหรือสินค้า
             (Suppliers) ลูกจ้าง (Employees) การปฏิบัติงาน (Processes) เทคโนโลยี (Tech-
             nology) และ การคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ สามารถแสดงความเชื่อมโยงของแผนที่

             กลยุทธ์ในทั้ง 4 มิติ ตาม ภาพประกอบ 15
                    การบริหารแบบสมดุลย์ (Balanced Scorecard) ประกอบด้วยมุมมองใน

             4 ด้านคือ
                    1. ประสิทธิภาพทางการเงิน (Financial performance)
                    2. ความพึงพอใจของลูกค้า (Customer satisfaction)

                    3. การปรับปรุงกระบวนการภายใน (Internal process improvement)
                    4. นวัตกรรมและการเรียนรู้ (Innovation and learning)
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110