Page 144 - Advande_Management_Ebook
P. 144
142 เอกสารประกอบการสอน : การจัดการขั้นสูง
หน้างานได้มีความเป็นเจ้าของและรับผิดชอบต่อผลงานมากขึ้นเพื่อสนองตอยปัญหา
และลูกค้าอย่างรวดเร็ว เกิดการแก้ไขที่ตอบโจทย์กับลักษณะงานต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะ
สม 3) การขจัดกระบวนการ บริหารจัดการที่ไม่จ�าเป็น ไม่ยึดติดกับการท�าเอกสาร
รายงานหรือขั้นตอนที่ปฏิบัติต่อ ๆ กันมาโดยมองถึงวัตถุประสงค์และเพิ่มประสิทธิภาพ
ให้กับขั้นตอนเหล่านั้น 4) การวางแผนงานที่มีความคล่องตัว สามารถปรับเปลี่ยนได้
ลดรอบระยะเวลาการติดตามและทบทวนแผนงานให้สั้นลงเพื่อให้ทันกับการ
เปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ปัจจุบันเมื่อพบปัญหาก็น�าไปแก้ไขได้ทันที รวมถึงล้มเลิก
โครงการทันทีหากประเมินความเป็นไปได้แล้วว่าไม่ประสบความส�าเร็จแบบที่สตาร์ท
อัพนิยมน�าไปใช้กันเรียกได้ว่าถ้าไม่เวิร์คก็อย่าฝืนท�า โดยจะลงรายละเอียดในบทที่ 5
ต่อไป
จากประสบการณ์ของสถาบันเพิ่มแห่งชาติที่ท�างานส่งเสริมสนับสนุน
ปรับปรุงผลิตภาพ หรือ productivity ร่วมกับองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่า
ปัจจัยส�าคัญที่จะท�าให้ productivity ประสบความส�าเร็จคือ คน เพราะโครงการ
ปรับปรุงผลิตภาพต้องการความร่วมมือจากพนักงานสร้างความตระหนักในคุณภาพ
และประสิทธิภาพส่งเสริมให้พนักงานมองเห็นปัญหาในงาน รู้สึกเป็นเจ้าของผลงาน
ที่ตนรับผิดชอบ คิดสร้างสรรค์และร่วมมือกันปรับปรุงให้ดีขึ้นซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด
ของ Agile เช่นกัน แต่ปัญหาหรือ GAP ที่โครงการ productivity ไม่ค่อยได้รับการ
ตอบสนองที่ดีจากพนักงานคือ ข้อจ�ากัดของการบริหารที่เป็นแบบ Top-Down ท�าให้
พนักงานขาดการที่มีส่วนร่วมกับโครงการรอผู้บริหารมอบนโยบาย และควรปรับ
เปลี่ยนรูปแบบการบริหารโครงการปรับปรุงผลิตภาพ ที่มีส่วนผสมของลักษณะการ
บริหารแบบ Bottom up มากขึ้น เน้นสร้างการมีส่วนร่วมจากพนักงานแบบทีมงาน
กลุ่มเล็ก ๆ ของแต่ละหน่วยที่มีความคล่องตัว ในการน�าเสนอไอเดียและการปรับปรุง
กระบวนการของหน่วยงานผ่านรูปแบบกิจกรรมไคเซนต์และ Snall Group Activity
ที่มีการประชุม ระดมความคิดเห็น ติดตามการท�างานเป็นระยะ ๆ และการสร้างกลไก
สนับสนุนต่างๆ ผ่านการพัฒนากลุ่มคนที่มีความรู้ความเข้าใจสามารถให้ค�าปรึกษา
แนะน�าและสร้างแรงจูงใจกับเพื่อนพนักงาน เรียกว่า “Productivity Facilitator หรือ
PF” (ชนิตา กระมรกิต. 2561: 9)
หลักการของ DevOps ในส่วนแนวคิดแบบ องค์กรพัฒนาร่วมกันลดความ