Page 202 - Advande_Management_Ebook
P. 202
200 เอกสารประกอบการสอน : การจัดการขั้นสูง
ก็ตาม และการเกิดขึ้นของนวัตกรรมคือการแสวงหาผลประโยชน์ที่ประสบความส�าเร็จ
จากแนวคิดใหม่ เพื่อให้องค์กรที่อยู่ในชุมชนสังคมประเทศชาติได้ขับเคลื่อนองคาพยพ
ขององค์กร และอยู่รอดอย่างยั่งยืน ความเป็นมาและความส�าคัญดังกล่าวนี้จะท�าให้
นักการจัดการได้เรียนรู้ถึงข้อมูลดังกล่าวเพื่อที่จะน�าไปสู่การพัฒนาและการขยายองค์
ความรู้ไปสู่การจัดการขั้นสูงต่อไป ลักษณะความแตกต่างของทฤษฎีการจัดการแต่ละ
ยุคการจัดการในยุคทันสมัย (Modern) กับการจัดการในหลังยุคความทันสมัย (Post-
modern) หลักการที่ส�าคัญในมุมมองในการจัดการ (Perspectives on manage-
ment): 1) เป็นศิลปะ 2) เป็นวิทยาศาสตร์ 3) เป็นมืออาชีพ 4) ปฏิวัติการจัดการ
ความคิดเท่านั้น สิ่งส�าคัญของการจัดการคือการลงมือปฏิบัติจริง (Implementation)
และในยุคสมัยนี้จะต้องค�านึงถึงสภาพแวดล้อมภายนอกและภายในซึ่งในส่วนส�าคัญ
คือต้องตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงของโลกที่เกิดขึ้นในหลายมิติและผลกระทบที่
เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นลัทธิการปกครองความคิดต่างของแต่ละประเทศที่มีการปกครอง
แตกต่างกันไป แต่นั่นมิใช่เป็นปัจจัยที่ส�าคัญยิ่ง ปัจจัยที่เป็นตัวแปรส�าคัญคือทรัพยากร
มนุษย์ที่จะต้องถูกปรับเปลี่ยนพัฒนาและเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นตื่นตัวและปรับตัว
ให้ทันต่อสถานการณ์อย่างรวดเร็วเพื่อความอยู่รอดของคนระบบและองค์กรการ
จัดการเท่านั้นที่จะเข้าไปแก้ไขสถานการณ์สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นให้เป็นไปในทิศทางที่ดี
เป็นไปตามความต้องการหรือความปรารถนาขององค์กรการจัดการจึงมีในแบบต่างๆ
ตามยุคและสมัยดังนี้
1. การจัดการแบบดั้งเดิมและร่วมสมัย (Classical and Contemporary
Approaches) ได้มีการน�าเอามาใช้ในทั้งภาคเอกชนและภาครัฐตลอดมาบางครั้ง
เครื่องมือการจัดการที่ปรากฏในองค์กรหน่วยงานบริษัทห้างร้านยังคงมีใช้และก็เป็น
เครื่องมือที่ส�าคัญขององค์กรนั้น ๆ นับย้อนหลังไปในการจัดการแบบดั้งเดิมและร่วม
สมัยมองว่างาน คือ กิจกรรมที่สร้างคุณค่าให้เกิดขึ้นกับผู้อื่นและผู้บริหาร คือ คนที่
ท�างานในองค์การ ที่รับผิดขอบผลการปฏิบัติงานของผู้อื่น
2. การจัดการแบบมีหลักเกณฑ์หรือเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Manage-
ment) มีหลักการในเรื่องของเนื้องานและวิธีในการท�างาน ถือว่าเป็นหัวใจของการ
บริหารงานคนจะถูกพิจารณาเป็นเพียงปัจจัยส่วนหนึ่งของการบริหารงานในการ
ท�างานมุ่งเน้นให้ความส�าคัญเนื้องานมากกว่าคน และยังได้น�าหลักการนี้มาช่วยในการ