Page 30 - Advande_Management_Ebook
P. 30
28 เอกสารประกอบการสอน : การจัดการขั้นสูง
ลางสังหรณ์ หรือสิ่งที่เคยท�ามีใช้มาในอดีต วิวัฒนาการของแนวคิดการจัดการใน
ยุคต่าง ๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ตั้งแต่ต้นมนุษย์เราได้พบกับการวิวัฒนาการของสิ่ง
มีชีวิตอย่างมาต่อเนื่อง มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งและเป็นองค์ประกอบหนึ่งของ
สังคม จึงท�าให้สังคมจึงต้องมีวิวัฒนาการที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์
ในแต่ละยุคแต่ละสมัย จากการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการที่เกิดขึ้นแต่ละช่วงของยุคนั้นๆ
นักวิชาการในการจัดการในอดีตที่ผ่านมาในแต่ละภูมิภาคของโลก ได้ก่อให้ก่อเกิด
เครื่องมือในการช่วยให้มนุษย์ได้น�ามาใช้ในการบริหารจัดการ กลายเป็นระลอกคลื่น
(Wave) ที่ถาถมมาสู่แต่ละยุคและสมัยของสังคมจนถึงยุคปัจจุบัน เราจะเห็นว่ามีเครื่อง
มือในการจัดการอย่างมากมายที่เกิดขึ้น และยังคงมีใช้อยู่จากอดีตจนถึงปัจจุบัน
ตลอดจนหลักนิยมของแต่ละภูมิภาคที่น�ามาใช้ในการจัดการกับ องค์การ ระบบ และ
คน จึงขอน�าเสนอทฤษฎี แนวคิดการจัดการตั้งแต่หลักนิยมแบบดั้งเดิมและ
ร่วมสมัยจนถึงปัจจุบัน ของ การจัดการขั้นสูง (Advanced Management) ปรากฏ
ในแต่ละบท ดังต่อไปนี้
ทฤษฎีการจัดการแบบดั้งเดิมและร่วมสมัย (Classical and Contem-
porary Approaches) ทฤษฎีนี้ ได้มีการน�าเอามาใช้ในทั้งภาคเอกชน และภาครัฐ
ตลอดมา บางเครื่องมือการจัดการที่ปรากฏในองค์กร หน่วยงาน บริษัท ห้างร้าน
ยังคงมีใช้และก็เป็นเครื่องมือที่ส�าคัญขององค์กรนั้น ๆ นับย้อนหลังไปในยุคต้น ๆ สมัย
Adam Smith จนผ่านถึงยุคสมัยใหม่ของ Henri Fayol วิศวกรเหมืองแร่ ชาวฝรั่งเศส
และ อนันต์ ธรรมชาลัย (2559 : ไม่ปรากฏเลขหน้า) ได้กล่าวว่า การจัดการแบบดั้งเดิม
และร่วมสมัย มองให้เห็นว่า งาน คือ กิจกรรมที่สร้างคุณค่าให้เกิดขึ้นกับผู้อื่น (Work
is an activity that produces value for other people) และ ผู้บริหาร คือ คน
ที่ท�างานในองค์การ ที่รับผิดชอบผลการปฏิบัติงานของผู้อื่น (Manager is a person
is an organization who is responsible for the work performance of one
or more offer persons) อันประกอบด้วย การจัดการ 3 แบบ ของ Prof.Dr.John
R.Schermerhorn ดังนี้
การจัดการแบบมีหลักเกณฑ์หรือเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Manage-
ment) มีนักคิดที่ส�าคัญคือ Frederick W. Taylor ถือว่าเป็นบิดาแห่งการบริหารการ
จัดการที่มีหลักเกณฑ์หรือบิดาแห่งการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ อันที่มีหลักการใน