Page 127 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 127

ภาคผนวก 2 สรุปบทเรียน การด าเนินงานในโครงการ WHO PQ ของ ดร.ภญ.มุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจ               | 109




                                                                                  ์
                                                    ์
                       2.  O-Organizing & S-Staffing การจัดองคการ และประสานงาน ได้แก่ โครงสร้างขององคกร การก าหนดส่วนงาน การก าหนด
                          ต าแหน่งงาน และอ านาจหน้าที่ รวมการจัดการบุคคลากร ได้แก่ การจัดอัตราก าลัง การคดเลือก การเลื่อนขั้น เลื่อนต าแหน่ง
                                                                                   ั
                          เงินเดือน การโยกย้าย การพัฒนาบุคคล
                          a.  สิ่งที่ด าเนินการ จากในอดีตที่เคยขออนุมัติโครงสร้างสมัยท่านผู้อ านวยการ นพ. วิทิต อรรถเวชกุล เมื่อสามารถเปิดโรงงาน
                       ได้โรงงานต้องด าเนินการผลิตเพื่อขยายก าลังการผลิตให้ทันต่อความต้องการยา จ านวนบุคลากรต้องมีเพิ่ม จ าเป็นต้องสรรหาเภสัชกร
                       พนักงาน และลูกจ้างประจ า และเริ่มท า Technology transfer ควบคกับการผลิต Efavirenz 600 mg ทดแทนการน าเข้ายา
                                                                      ู่
                       Efavirenz จากอินเดีย
                          b.  ปัญหา อุปสรรค
                                การน าเข้ายา Efavirenz จากอินเดีย ซงได้จากการจัดซอโดยการ Bidding  ท าให้ผู้ป่วยได้ยาเปลี่ยนบริษัทไปเรื่อยๆ
                                                          ึ่
                                                                    ื้
                       ตามที่ประมูลได้ บางครั้งเกิดเหตุการณ์การจัดซื้อแล้วบริษัทไม่น าส่งยาตามก าหนด ท าให้ผู้ป่วยขาดยา และในบางครั้งตัวยามีปัญหาเรื่อง
                       Dissolution เพราะยาตัวนี้มีปัญหาเรื่องการละลาย ท าให้ผู้ป่วยคาดหวังว่าจะเข้าถึงยาได้และไม่มียาขาดจ่าย การเริ่มผลิตยา Efavirenz
                       ในโรงงานใหม่ เครื่องจักรใหม่ และต้องการยอดยาสูงทั้งยา ARV และยารายการอื่นๆ ที่ผลิตที่โรงงานผลิตยารังสิต 1 จ าเป็นต้องมี
                       อัตราก าลังมากขึ้น แต่การขออัตราก าลังเพิ่มเป็นเรื่องยากและใช้เวลา ประกอบกับทุกหน่วยงานต้องการสงวนอัตราก าลังไว้ใช้งานดังนั้น
                       การขออัตราว่างจากหน่วยงานอื่นจึงท าไม่ได้
                                โรงงานผลิตยาที่ได้มาตรฐานสากล ต้องมีการเปิดระบบปรับอากาศ 24 ชั่วโมง คาใช้จ่ายในการรักษาระบบน้ า การ
                                                                                    ่
                                              ุ
                       ลงทุนการลงทุนในระบบผลิต คลัง คณภาพที่ใช้ Manufacturing Execution System (MES ) โดยเป็น Electronic Batch Record
                       ร่วมกับ eQMS Elecronic Quality Management System และ Laboratory Information System(LIMS) ท าให้คาใช้จ่ายของ
                                                                                                 ่
                       โรงงานเพิ่มขึ้น
                                                       ึ่
                                การใช้ Software ในการท างานซงพนักงานทุกระบบไม่เคยใช้งานระบบ Electronic มาก่อนต้องใช้เวลาในการท า
                       Master Data และไม่คุ้นกับภาษาอังกฤษ
                                ขาดเภสัชกรที่ต้องการท างานในโรงงานทั้งเภสัชกรฝ่ายผลิต คลัง QA  QC
                          c.  แนวทางแก้ไขปัญหา
                                การแก้ปัญหาระยะสั้น รองผู้อ านวยการเสนอโครงการเพิ่มผลผลิตโดยมีการเพิ่มบุคลากรลูกจ้างประจ าเพื่อรองรับการ
                       ขยายก าลังการผลิต รวมทั้งการจ้างงานในสัญญาจ้างบุคลากรต้องสามารถท างานในกะ กลางคืนได้ด้วย เพื่อให้มีการผลิต 24 ชั่วโมงเพื่อ
                       ลดต้นทุนการผลิต

                                ได้มีการวางแผนเพื่อให้บุคลากรพัฒนาอย่างรวดเร็ว เรียนรู้การใช้ Software รวมทั้งลงทุนอย่างมากกับทรัพยากร
                       มนุษย์ เพื่อความยั่งยืนในอนาคต
                                                                                ึ
                                ส่งเสริมและให้โอกาสกับบุคลากรที่ทุ่มเทกับงานเป็นพิเศษ ในการศกษา อบรม  ประชุม การท า Factory
                       Acceptance Test (FAT) ในต่างประเทศ
                                Rotation คนที่เหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อมในการตรวจโรงงานของ Inspector Team
                                การแก้ปัญหาขาดแคลนเภสัชกร ได้ท าโครงการเตรียมความพร้อมด้านบุคลากรโรงงานผลิตยารังสิต 1 ขออนุมัติ
                       คณะกรรมการองค์การเภสัชกรรมในการให้ทุนเภสัชกรระดับชั้นปีที่ 5 และ 6 เมื่อจบแล้วมาท างานที่องค์การเภสัชกรรม

                       3.  D-Directing การอ านวยการ ได้แก่ การตัดสินใจ การออกค าสั่ง การมอบหมายงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ภาวะผู้น า
                                                                                                     ุ
                          a.  สิ่งที่ด าเนินการ เนื่องจากงานโครงการ WHO PQ ส่วนใหญ่จะอยู่ที่โรงงานผลิตยารังสิต 1 และการประกันคณภาพ
                       โรงงานผลิตยารังสิต 1  ซึ่งการที่ได้รับมอบหมายให้ก ากับดูแลงานทั้งสองงานจึงมีความคล่องตัวในการบริหารงานในการสั่งการ และการ
                       ที่ท่านผู้อ านวยการตั้งแต่สมัย นพ. วิฑิต อรรถเวชกุล และนพ. นพพร ชื่นกลิ่น แต่งตั้งให้เป็น Contact Person กับ WHO ท าให้มีความ
                       ต่อเนื่องในงานและการมี Contact Person คนเดียวจึงมีความชัดเจนในการติดต่อ
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132