Page 20 - รายงานวิจัยชั้นเรียนปี 2562 กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
P. 20

15

                         สรุปได้ว่า ความพึงพอใจ คือ ความรู้สึกของบุคคลต่อสิ่งต่างๆ ในทางบวก และเป็นความรู้สึกที่สามรถ
               เปลี่ยนแปลงได้เมื่อเวลาหรือสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ดังนั้น ความพึงพอใจในการเรียนรู้จึงหมายถึง ความรู้สึกพอใจ

               ที่มีต่อการได้ร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนจนบรรลุผลหรือเป้าหมายในการเรียนรู้
                      2) ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจ
                         ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกทบุคคลมีต่อสิ่งที่ได้รับประสบการณ์และแสดงออกหรือมีพฤติกรรม
                                                  ี่
               ตอบสนองในลักษณะแตกต่างกันไป ความพึงพอใจในสิ่งต่างๆ นั้น จะมีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับแรงจูงใจหรือการ
               กระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจกับผู้ปฏิบัติงานจึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อให้งานหรือสิ่งที่ทำนั้นประสบความสำเร็จ การศึกษา

               เกี่ยวกับความพึงพอใจเป็นการศึกษาตามทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์ ที่เกี่ยวกับความต้องการของมนุษย์ มี
               ดังต่อไปนี้
                             ความพึงพอใจในการเรียนของนักเรียนมีทฤษฎี และมีผู้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ ดังนี้

                         สก๊อตต์ (ศุภศิริ โสมาเกตุ. 2544: 49) ได้เสนอความคิดในเรื่องการจูงใจให้เกิดความพึงพอใจต่อการ
               ทำงานที่จะให้ผลเชิงปฏิบัติ มีลักษณะดังนี้
                         1. งานควรมีส่วนสัมพันธ์กับความปรารถนาส่วนตัว และมีความหมายสำหรับผู้ทำ
                         2. งานนั้นต้องมการวางแผนและวัดความสำเร็จได้ โดยใช้ระบบการทำงานและการควบคุมที่ม ี
                                      ี
               ประสิทธิภาพ
                         3. เพื่อให้ได้ผลในการสร้างสิ่งจูงใจภายในเป้าหมายของงาน จะต้องมีลักษณะ ดังนี้
                             3.1 คนทำงานมีส่วนในการตั้งเป้าหมาย
                             3.2 ผู้ปฏิบัติได้รับทราบผลสำเร็จในการทำงานโดยตรง

                             3.3 งานนั้นสามารถทำให้สำเร็จได้
                         มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2540: 139) กล่าวถึงทฤษฎีการจูงใจของนักศกษาต่างๆ ดังนี้
                                                                                          ึ
                         1. ทฤษฎีการจูงใจ ERG ของแอลเดอร์เฟอร์ (Alderfer) กล่าวว่า ความต้องการของมนุษย์แบ่ง
               ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ

                             1.1 ความต้องการเพื่อดำรงชีวิต (Existence Needs) หรือ E เป็นความต้องการทางด้านร่างกาย
               และปัจจัยที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต
                              1.2 ความต้องการด้านความสัมพันธ์ (Relatedess Needs) หรือ R เป็นความต้องการที่ม ี

               ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่นๆ เช่น สมาชิกในครอบครัว เพื่อร่วมงาน และคนที่ต้องการมีความสัมพันธ์ด้วย
                              1.3 ความต้องการความเจริญก้าวหน้า (Growth Needs) หรือ G เป็นความต้องการที่จะพัฒนา
               ตนเองตามศักยภาพสูงสุด
                         2. ทฤษฎีการจูงใจของ แมคคลีแลนด์ (Mccleland) เชื่อว่า ความต้องการเป็นการเรียนรู้จากการมี
                                                         ์
               ประสบการณ์ และมีอิทธิพลต่อการรับรู้สถานการณและแรงจูงใจสู่เป้าหมายโดยแบ่งความต้องการออกเป็น 3
               ประเภท ดังนี้
                             2.1 ความต้องการผลสัมฤทธิ์ (Needs for Achievement) เป็นพฤติกรรมที่จะกระทำใดๆ ให้
               เป็นผลสำเร็จ เป็นแรงขับเคลื่อนที่จะนำไปสู่ความเป็นเลิศ

                             2.2 ความต้องการสัมพันธ์ (Needs for Affiliation) เป็นความปรารถนาที่จะสร้างมิตรภาพ และ
               มีความสัมพันธ์อันดีกับผู้อื่นและความต้องการควบคุมผู้อื่น
                             2.3 ความต้องการอำนาจ (Needs for Power) เป็นความต้องการควบคุมผู้อื่น มีอทธิพลต่อผู้อื่น
                                                                                                 ิ
               และความต้องการควบคุมผู้อื่น
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25