Page 66 - การบูรณาการคุณค่าพระวรสาร
P. 66
8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 9. สื่อการเรียนรู้/ 10. การวัดและการ
แหล่งการเรียนรู้ ประเมินผลการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ 19 (วันที่ 17-21 ก.ย. 61) 1. หนังสือเรียนวิชา 1. กิจกรรมฝึกปฏิบัติ
ขั้นรวบรวมข้อมูล พลศึกษา กลุ่ม
1. ทบทวนกิจกรรมเข้าจังหวะเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว แล้วครูให้นักเรียน 2. ฟิวเจอร์บอร์ดเพลง 2. แบบประเมินทักษะ
ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ ไตรรงค์ การปฏิบัติ
- การเคลื่อนไหวประกอบเพลงว่าท าอย่างไรจึงจะเกิดความ
สวยงาม (ปฏิบัติแบบพร้อมเพรียงกัน)
- นักเรียนมีวิธีการอย่างไรที่จะเคลื่อนไหวร่างกายให้เข้ากับ
จังหวะ (เริ่มจากช้าๆตามจังหวะการนับ 1 2 3 4 แล้วค่อยเพิ่ม
จังหวะให้เร็วขึ้นจนสามารถปฏิบัติได้)
เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า “การเคลื่อนไหวประกอบเพลงให้เกิดความ
สวยงามต้องปฏิบัติให้ตรงกับจังหวะและท าให้พร้อมเพรียงกัน”
ขั้นวิเคราะห์และสรุปความรู้
1. เพิ่มเติมท่ากายบริหารโดยให้นักเรียนคิดเองที่แตกต่างจากของ
คุณครู
- ท่ากายบริหารยากเกินไปส าหรับนักเรียนหรือไม่ที่จะคิดเอง
(ไม่ยาก เพราะนักเรียนสามารถปฏิบัติได้)
- นักเรียนคิดอย่างไรกับการเพิ่มท่ากายบริหาร (ดี เพราะจะท า
ให้เรารู้การเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น)
ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ
1. นักเรียนคิดท่ากายบริหารเอง นอกเหนือจากที่ครูท า ให้เกิดความ
แตกต่างที่หลากหลาย โดยการจับกลุ่ม 4 คน ช่วยกันคิดท่าเพิ่มแต่
ยังคงใช้เพลงไตรรงค์เหมือนเดิม
2. นักเรียนฝึกปฏิบัติเพลงไตรรงค์ให้เกิดความเข้าใจและสามารถ
ปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง จนนักเรียนรู้จังหวะหรือร้องเพลงได้
คล่องแคล่ว (คุณค่าที่ 14 การงาน / หน้าที่)
3. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปการปฏิบัติกิจกรรมเข้าจังหวะของ
นักเรียน และอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดความเข้าใจที่มากขึ้น
ขั้นสื่อสารและน าเสนอ
1. นักเรียนกลุ่มที่สามารถปฏิบัติได้ถูกต้องออกมาท าให้เพื่อนดู
เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่มากขึ้นและสามารถปฏิบัติตามเพื่อนได้อย่าง
ถูกต้อง