Page 77 - การบูรณาการคุณค่าพระวรสาร
P. 77
๔. สาระส าคัญ
การสะกดค าแบบแจกลูกค า เป็นพื้นฐานการอ่านค าต่างๆ ในบทเรียนได้อย่างถูกต้อง
การฝึกอ่านค าต่างๆ ในภาษาไทยจะช่วยให้มีทักษะพื้นฐานด้านการสะกดค า เหล่านั้นได้ถูกต้อง
การอ่านในใจเพื่อให้สามารถจับใจความส าคัญของเรื่องได้ สามารถตอบค าถามจากเรื่อง บอกและ
เรียงล าดับเหตุการณ์ที่ส าคัญในเรื่อง แล้วสามารถเขียนแผนภาพโครงเรื่อง เพื่อสรุปเรื่องหรือเล่าเรื่องโดย
ใช้ค าพูดของตนเองตามแผนภาพโครงเรื่องได้
การเขียนเชิงสร้างสรรค์ เป็นความสามารถในการเขียนค า ประโยคหรือเรื่องราวได้อย่างถูกต้อง
แปลกใหม่ไม่ซ้ าแบบใคร มีคุณค่า โดยจะต้องเขียนได้อย่างหลากหลาย และคล่องแคล่ว เสร็จทันเวลาที่
ก าหนด
การฝึกให้ผู้เรียนแสดงความคิดต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใด ซึ่งอาจจะเป็นภาพ ข้อความ บุคคล หรือเหตุการณ์
โดยไม่จ ากัดความคิดเห็น เป็นการฝึกที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์ที่ดีได้วิธีหนึ่ง
การแต่งประโยคจะน าไปสู่การเขียนบรรยายภาพ เป็นการเพิ่มพูนทักษะการอ่านและเขียน เป็นการ
ช่วยท ากิจกรรมหนังสืออ่านในชั้นเรียนได้เป็นอย่าง
๕. สาระการเรียนรู้
๕.๑ ความรู้ (Knowledge)
การสร้างประสบการณ์ทางเนื้อหาโดยการตอบค าถามจากเรื่อง “กระต่ายไม่ตื่นตูม
การสร้างประสบการณ์จากค า
- การอ่านและสะกดค ายากและค าใหม่
- การเขียนค ายากและค าใหม่
- การอ่านค ายาก
- การอ่านสะกดค ายากในบทเรียน
- การส านวนสุภาษิตในบทเรียน
๕.๒ ทักษะกระบวนการ
การสร้างประสบการณ์ทางการฟัง
- การตอบค าถามจากเรื่อง “กระต่ายตื่นตูม และแต่เด็กซื่อไว”
้
- การเล่าเรื่อง “กระต่ายตื่นตม และแต่เด็กซื่อไว”
ู
้
้
- การฟังเรื่อง “กระต่ายตื่นตูม และแต่เด็กซื่อไว”
๕.๓ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ / สมรรถนะ
ความเป็นไทย ความซื่อสัตย์
๖. หลักฐาน/ผลปฏิบัติ : ชิ้นงาน/ภาระงาน/ทดสอบย่อย
แบบบันทึกการพูด การอ่าน
ผลงานของนักเรียนในการสรุปเรื่องที่อ่าน
แบบบันทึกการสื่อสาร