Page 81 - การบูรณาการคุณค่าพระวรสาร
P. 81
๗. นักเรียนท าแบบทดสอบหลังเรียน
ขั้นสื่อสารและการน าเสนอ
๘. สุ่มนักเรียนอ่านประโยคที่ตนเองแต่งมาให้เพื่อน ๆ ฟัง
ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า บริการสังคมและจิต
สาธารณะ
๙. นักเรียนแลกเปลี่ยนการแต่งประโยคที่แต่งมา
คาบที่ ๔
ขั้นรวบรวมข้อมูล
๑. นักเรียนท าแบบทดสอบก่อนการเรียนรู้
๒. นักเรียนอ่านค าและความหมายของค าจากหนังสือ
๓. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาชื่อเรื่อง“แต่เด็กซื่อ
ไว้” ว่ามีลักษณะอย่างไร โดยใช้ค าถามน าดังนี้
(พระวรสารข้อที่ ๙ ความซื่อตรง)
๑) ใครเคยท าดีบ้าง ท าอย่างไรจึงเรียกว่าท า
ดี และ
ท าดีอย่างไรจึงเรียกว่าท าไม่ดี (ตอบตามคิดของ
นักเรียน)
๒) เราควรท าอย่างไรบ้าง จึงจะเรียกว่า “คน
ดี” (ตอบ
ตามคิดของนักเรียน)
๓) ค าว่า “ซื่อสัตย์” หมายความว่าอย่างไร
(ประพฤติตรง ไม่เอนเอียง ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม มีความ
จริงใจ ปลอดจากความรู้สึกล าเอียงหรืออคติ ผู้ที่มี
ความซื่อสัตย์ คือ ผู้ที่มีความประพฤติตรง ทั้งต่อ
หน้าที่ ต่อวิชาชีพ ตรงต่อเวลา ไม่ใช้เล่ห์กล คดโกง
ทั้งทางตรงและทางอ้อม รับรู้หน้าที่ของตนเองและ
ปฏิบัติอย่างเต็มที่ถูกต้อง)
๔) ท าไมจึงตั้งชื่อเรื่องว่า แต่เด็กซื่อไว (ตอบตามคิด - บทเสริม เรื่องเทพารักษ์
้
ของ กับคนตัดไม้
นักเรียน) - ใบงาน
๕) นักเรียนลองคิดดูว่า คนท าดีและเป็นคนซื่อสัตย์ - ภาพ
ผลสุดท้ายจะเป็นอย่างไร (ตอบตามคิดของ