Page 27 - รายงานประจำปี 2562
P. 27
คณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำานาจหน้าที่ระหว่างศาล
(๒) ลักษณะของสัญญา ที่เขียนอยู่ในตัวบทก็มีบางส่วนพยายามเอามาสกัดให้เป็นทาง
วิชาการ คือ
(๑) สัญญาทางปกครองโดยสภาพ สัญญาทางปกครองโดยสภาพ คือสัญญา
ท่เอกชนทำาไม่ได้ จะต้องเป็นรัฐเท่าน้นท่ทำาได้ เช่น สัญญาจัดซ้ออาวุธสงคราม หรือ
ั
ี
ื
ี
ี
ี
ี
สัญญาซ้อขายท่ดินท่ถูกเวนคืน เป็นต้น สัญญาเหล่าน้เป็นสัญญาท่เอกชนทำาไม่ได้
ื
ี
โดยสภาพ ต้องเป็นฝ่ายรัฐเท่านั้นที่จะทำาได้ เป็นสัญญาที่มีข้อกำาหนดพิเศษ หรือมีการ
แสดงเอกสิทธ์พิเศษของหน่วยงานทางปกครองท่ไม่อาจพบได้ในสัญญาระหว่างเอกชน
ี
ิ
ั
ิ
ื
ึ
กับเอกชน มีเร่องคำาวินิจฉัยเร่องหน่งใช้คำาว่าเป็นสัญญาแสดงเอกสิทธ์ โดยท่วไปในการ
ื
ื
ี
วินิจฉัยช้ขาดเราจะไม่ค่อยใช้คำานี้เพราะว่าเคยมีความเข้าใจผิดในเร่องสัญญาเอกสิทธ ์ ิ
ึ
พอสมควร เคยมีคำาวินิจฉัยเร่องหน่ง (คำาวินิจฉัยท่ ๙/๒๕๕๕) เป็นเร่องท่หน่วยงาน
ี
ื
ื
ี
ั
ื
ึ
ั
ั
ของรัฐส่งซ้อประตูตรวจอาวุธ ในสัญญาน้นบอกว่าให้ส่งโดยเรือไทย ซ่งในยุคน้น
ิ
ี
่
ื
ึ
ข้อสญญาท่ให้ส่งโดยเรอไทยเป็น “เอกสิทธ์” ซงต่อมาถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าไม่ใช่ เพราะ
ั
ั
การจะกำาหนดวิธีการขนส่งอย่างไรน้น เอกชนก็ตกลงได้ไม่จำาเป็นจะต้องเป็นเอกสิทธ ์ ิ
ี
ี
ี
ั
ของรัฐเท่าน้น คำาว่า “สัญญาเอกสิทธ์” หมายถึงสัญญาท่ฝ่ายรัฐฝ่ายเดียวท่สามารถท่จะ ศาสตราจารย์พิเศษ
ิ
เปล่ยนแปลงหรือยกเลิกสัญญาได้โดยไม่ต้องอาศัยความยินยอมของเอกชน เรียกว่า ดร.จิรนิติ หะวานนท์
ี
ั
ิ
ิ
เอกสทธิ แตส่วนทต้องอาศยความตกลงไมใช่เอกสทธ์ สวนสญญาทเอกชนทาไมได้ เชน
่
่
่
ั
์
ิ
ี
่
่
ี
่
่
ำ
ื
้
ำ
สัญญาจัดซ้ออาวุธสงคราม สัญญาซ้อเคร่องบินรบ สัญญาจัดซ้อเรือดำานา ชาวบ้าน
ื
ื
ื
ทำาไม่ได้ก็ต้องเป็นฝ่ายรัฐเท่านั้นจึงจะดำาเนินการได้
ี
(๒) สัญญาท่เป็นเคร่องมือเพ่อให้การดำาเนินกิจการทางปกครองบรรลุผล
ื
ื
ความเห็นของ ดร.วรพจน์ วิศรุตพิชญ์ รองประธานศาลปกครองสูงสุด ท่านจัดสัญญา
ื
ี
ประเภทน้อยู่ในลักษณะสัญญาทางปกครองโดยสภาพเพ่อให้การดำาเนินกิจกรรมทาง
ปกครองบรรลุผล อย่างไรก็ตามในคำาวินิจฉัยจริง ๆ แล้ว คณะกรรมการไม่ได้จัดให้
ื
สัญญาลักษณะดังกล่าวอยู่ในเร่องสัญญาทางปกครองโดยสภาพ แต่ไปเรียกเป็นสัญญา
อีกประเภทหนึ่ง ซึ่งจะบรรยายต่อไป
ในมุมมองของคณะกรรมการ สัญญาทางปกครองโดยสภาพ คือ สัญญาท ่ ี
เอกชนทำาไม่ได้ สัญญาทางปกครองอีกประเภทหนึ่งคือสัญญาทางปกครองที่กฎหมาย
ี
กำาหนด ตามตัวบทก็มีสัญญาสัมปทานคือ สัญญาท่รัฐให้เอกชนเข้ามาดำาเนินกิจการ
ึ
อย่างใดอย่างหน่งโดยเอกชนได้ค่าตอบแทนจากการเก็บค่าบริการหรือประโยชน์แล้ว
จ่ายค่าสมปทานให้แก่รฐขอตงข้อสังเกตไว้อย่างหนงว่าสัญญาสัมปทาน ฝ่ายเอกชน
ั
ึ
ั
่
ั
้
ที่ได้รับสัมปทานเป็นคนจ่ายเงินค่าสัมปทานให้รัฐไปดำาเนินกิจการ อาจจะผูกขาดหรือ
ั
ั
ี
ไม่ผูกขาดก็ได้ น่นคือสัญญาสัมปทาน สัญญาสัมปทานมีท้งสัมปทานท่ให้ไปบริการ
สาธารณะ หรือสัมปทานที่ให้ไปแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติก็ได้ แต่ว่าหลักสำาคัญของ
สัมปทานก็คือว่าเมื่อได้สัมปทานไปแล้ว เอกชนจะต้องจ่ายค่าสัมปทานให้แก่รัฐ
สำาหรับสัญญาอื่น ๆ ได้แก่ สัญญาที่ให้จัดทำาบริการสาธารณะ สัญญาจัดให้มี
ส่งสาธารณูปโภค สัญญาแสวงหาทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากน้นก็ยังมีสัญญาอุปกรณ์
ิ
ั
ซึ่งจะกล่าวต่อไป
กิจกรรมของสำ�นักง�นเลข�นุก�ร
่
คณะกรรมก�รวินิจฉัยชี้ข�ดอำ�น�จหน้�ที่ระหว�งศ�ล 21