Page 32 - รายงานประจำปี 2562
P. 32
ื
ึ
ั
วางแนวเร่องสัญญามาตั้งแต่แรก ซ่งในช่วงแรกน้นท่านอาจารย์จิรนิติเป็นเลขานุการ
ี
คณะกรรมการวินิจฉัยช้ขาดฯ และมีท่านอาจารย์อักขราทร ท่านอาจารย์โภคินเป็น
กรรมการ ท่านอาจารย์โภคินท่านเป็นนักวิชาการและมีความรู้เกี่ยวกับระบบกฎหมาย
ึ
ปกครองเป็นอย่างดี ท่านได้ช่วยวางหลักกฎหมายปกครองซ่งเป็นการวางแนวท่นำามา
ี
ั
ปรับใช้ได้จนถึงปัจจุบัน ถือเป็นหลักท่เป็นสากลจริง ๆ ไม่ใช่การดึงอำานาจไปศาลน้น
ี
ื
ี
ี
ี
ี
หรือศาลน้ คณะกรรมการวินิจฉัยช้ขาดฯ ในช่วงแรกมีแนวโน้มท่จะวินิจฉัยเร่องเก่ยวกับ
สัญญาทางปกครองให้อยู่ในเขตอำานาจของศาลปกครองค่อนข้างมาก โดยส่วนตัวมองว่า
บางกรณีอาจเกินไปจากตัวบทเสียด้วยซา ซ่งก็จะเห็นได้จากแนวคำาวินิจฉัยท่ท่าน
ึ
ำ
้
ี
อาจารย์จิรนิติได้บรรยายมาเมื่อสักครู่
แนวคิดเร่องสัญญาทางปกครองของศาลปกครองได้มีความชัดเจนข้นอย่างม ี
ึ
ื
นัยสำาคัญเม่อมีมติของท่ประชุมใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด คร้งท่ ๖/๒๕๔๔
ื
ี
ั
ี
เมื่อวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๔ อธิบายนิยามของคำาว่า “สัญญาทางปกครอง” โดยเป็น
ี
แนวความคิดที่จะสร้างความชัดเจนของนิยามตามท่บัญญัติไว้ในมาตรา ๓ แห่งพระราช
ดร.ประสาท พงษ์สุวรรณ์ บัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งจะได้กล่าวโดย
ื
ั
ี
ละเอียดต่อไป ท้งน้ ต้องเข้าใจว่าหลักกฎหมายปกครองไม่ว่าจะเป็นเร่องใดรวมท้งเร่อง
ื
ั
ึ
สัญญาทางปกครองหรือวิธีพิจารณาคดีปกครอง ส่วนหน่งจะเกิดข้นโดยแนวคำาวินิจฉัย
ึ
ำ
ของศาลหรือหลักกฎหมายทั่วไป ฉะนั้น ศาลปกครองจึงสามารถนาแนวคาวินิจฉัยของ
ำ
ั
ึ
ศาลหรือหลักกฎหมายท่วไปมาใช้ในการวินิจฉัยคดีเสมือนหน่งเป็นกฎหมายลายลักษณ์
ึ
อักษร ซ่งต้องขอบคุณท่านอาจารย์จิรนิติท่เห็นพ้องกับหลักกฎหมายหลายประการท ่ ี
ี
เกิดจากแนวคำาวินิจฉัยของศาลปกครองหรือของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดฯ
ในวันนี้ผมจะแบ่งหัวข้อการอภิปรายออกเป็น ๔ หัวข้อ ดังนี้
๑. ความเป็นมาของคณะกรรมการวินิจฉัยชี้ขาดอำานาจหน้าที่ระหว่างศาล
ั
ในประเทศไทย ศาลปกครองจัดต้งข้นเม่อปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ซ่งถือเป็นการ
ึ
ื
ึ
ิ
เร่มระบบศาลคู่ด้วย โดยมีศาลสองระบบแยกออกจากกัน แต่จะเห็นว่าในช่วงแรก
มีการนำาคดีปกครองไปฟ้องศาลยุติธรรม หรือมีการนำาคดีแพ่งมาฟ้องศาลปกครอง
แล้วศาลปกครองบังเอิญรับมาพิจารณาและพิพากษาไปโดยศาลปกครองช้นต้นและ
ั
ิ
ึ
่
้
ศาลปกครองสูงสุด ซงคำาพิพากษาของทงสองศาลคือศาลยุตธรรม และศาลปกครองย่อมม ี
ั
ั
ผลบังคับเพราะว่า ใช้อำานาจตุลาการท้งคู่ บางคร้งศาลปกครองสูงสุดพบว่ามีการรับคด ี
ั
ที่ฟ้องผิดศาลไว้แต่ก็ต้องวินิจฉัยต่อไปเพราะทำาอะไรไม่ได้ เนื่องจากขั้นตอนการโต้แย้ง
ั
ั
ิ
ิ
ั
อานาจหน้าทระหว่างศาลตามมาตรา ๑๐ แห่งพระราชบญญตว่าด้วยการวนจฉย
ิ
ี
ำ
่
ชี้ขาดอำานาจหน้าที่ระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒ จบลงแล้ว ดังนั้น จะเห็นว่ามีคดีที่อาจ
วินิจฉัยไปโดยไม่ถูกระบบศาลก็มี แต่ว่าไม่ใช่เรื่องแปลกอะไร และเมื่อเป็นระบบศาลคู่
ี
้
ื
่
้
ิ
ิ
ี
ั
กจำาเป็นตองม “คณะกรรมการวนจฉัยชขาดอานาจหนาท่ระหวางศาล” เพอป้องกนการ
้
ี
่
ำ
็
ขัดแย้งกันในเร่องเขตอำานาจศาล ในประเทศฝร่งเศสก็มีระบบการช้ขาดดังกล่าว แต่ไม่ม ี
ื
ี
ั
ึ
ี
ในประเทศเยอรมนีซ่งเขาใช้ศาลแรกเป็นศาลช้ขาด ประชาชนนำาคดีไปฟ้องศาลไหน
กิจกรรมของสำ�นักง�นเลข�นุก�ร
26 คณะกรรมก�รวินิจฉัยชี้ข�ดอำ�น�จหน้�ที่ระหว�งศ�ล
่