Page 128 - สรุปแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลในคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาฯ
P. 128
�
มาตรฐานสาหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2518 มาตรา
ึ
8 ทวิ วรรคหน่ง บัญญัติให้ผู้บริหารรัฐวิสาหกิจไม่มีฐานะเป็นพนักงาน
ิ
ิ
ของรฐวสาหกิจ โดยปรากฏเหตุผลในการแก้ไขเพ่มเตมพระราชบัญญัต ิ
ิ
ั
�
คุณสมบัติมาตรฐานสาหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ (ฉบับท่ 4)
ี
พ.ศ. 2543 ว่า “ให้ผู้บริหารของรัฐวิสาหกิจไม่มีฐานะเป็นพนักงาน และให้
ื
ื
�
�
การจ้างบริหารโดยทาสัญญาจ้าง โดยกาหนดค่าจ้างเพ่อผลประโยชน์อ่น
ตามผลงาน ในการบริหาร เพ่อให้รัฐวิสาหกิจมีผู้บริหารที่มีความรู้และ
ื
ความสามารถในเชิงธุรกิจอย่างแท้จริง” ท้งข้อ 2.1 ของสัญญายังกาหนด
ั
�
ให้โจทก์มีหน้าท่บริหารกิจการตามภารกิจ เป้าประสงค์และเป้าหมาย
ี
ี
ท่คณะกรรมการของจาเลยกาหนด ตลอดจนปฏิบัติตามนโยบายมต ิ
�
�
�
�
�
คณะรัฐมนตรี ระเบียบ ข้อบังคับ คาส่งท่คณะกรรมการของจาเลยกาหนด
ี
ั
ั
ดังน้นสัญญาจ้างโจทก์เป็นผู้จัดการท่วไปซ่งเป็นผู้บริหารสูงสุดของจาเลย
�
ึ
ั
็
ั
ื
ิ
�
ิ
้
่
ิ
ั
ั
ิ
ิ
ึ
็
่
ซงเปนรฐวสาหกจ จงมลกษณะเปนการจางบรหารกจการเพอจดทาบรการ
ึ
ี
สาธารณะในอ�านาจหน้าที่ของจ�าเลย มิใช่การจ้างแรงงานตามความหมาย
ของสญญาจ้างแรงงาน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชย์
ั
ิ
ี
มาตรา 575 สัญญาจ้างผู้บริหาร ลงวันท่ 18 ธันวาคม 2558 จึงเป็น
ึ
สัญญาท่หน่วยงานทางปกครองให้เอกชนเข้าจัดทาบริการสาธารณะ ซ่ง
�
ี
เป็นสัญญาประเภทหน่งของสัญญาทางปกครอง ตามมาตรา 3 แห่ง
ึ
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542
ส่วนท่จาเลยฟ้องแย้งขอให้โจทก์คืนเงินเดือนท่จ่ายเกินไปคืนแก่จาเลย
�
ี
�
ี
ี
ี
ก็ล้วนเป็นข้อพิพาทเก่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารดังกล่าว คดีน้จึง
ี
เป็นคดีพิพาทเก่ยวกับสัญญาทางปกครอง ตามมาตรา 9 วรรคหน่ง (4)
ึ
แห่งพระราชบัญญัติจัดต้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
ั
พ.ศ. 2542 ท่อยู่ในอานาจพิจารณาพิพากษาของศาลปกครอง
�
ี
117