Page 132 - สรุปแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลในคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาฯ
P. 132
ี
�
ของสัญญาจ้างแรงงานระหว่างโจทก์และจาเลย คดีน้จึงเป็นคดีพิพาท
ี
เก่ยวกับสิทธิหรือหน้าท่ตามสัญญาจ้างแรงงานตามพระราชบัญญัต ิ
ี
จัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 8 (1)
ั
ึ
�
�
อันอยู่ในอานาจของศาลแรงงานซ่งเป็นศาลยุติธรรม จึงไม่อยู่ในอานาจ
ของศาลปกครอง ตามพระราชบัญญัติจัดต้งศาลปกครองและวิธีพิจารณา
ั
คดีปกครอง พ.ศ. 2542 มาตรา 9 วรรคสอง (3)
ี
ี
ี
�
คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลท่ ๑๗/๒๕๕๘
�
ึ
คดีท่โจทก์ซ่งเป็นอดีตพนักงานของธนาคารแห่งประเทศไทยย่นฟ้อง
ื
ี
�
ธนาคารแห่งประเทศไทยว่า จงใจหรือละเลยไม่กาหนดประโยชน์
ตอบแทนเก่ยวกับค่าชดเชยกรณีเลิกจ้างโจทก์เน่องจากเกษียณอาย ุ
ื
ี
ท้งไม่ออกระเบียบหรือข้อบังคับเก่ยวกับค่าชดเชยตามกฎหมาย ขอให้จ่าย
ี
ั
�
ั
เงินค่าชดเชย ส่วนจาเลยให้การว่า การจ้างงานของจาเลยได้รบยกเว้น
�
มิต้องจ่ายค่าชดเชยในกรณีเลิกจ้าง และได้จัดให้มีระเบียบหรือข้อบังคับที่
ี
เก่ยวข้องไว้โดยชอบแล้ว เห็นว่า คดีน้เป็นกรณีพิพาทเก่ยวกับค่าชดเชย
ี
ี
กรณีออกจากงานเนื่องจากการเกษียณอายุ อันเป็นกรณีจาเลยจ้าง
�
ื
ี
โจทก์ให้ปฏิบัติหน้าท่ในฐานะพนักงานโดยจ่ายค่าจ้างเป็นเงินเดือน เพ่อ
�
ตอบแทนการทางานให้ จึงเป็นความสัมพันธ์ในฐานะลูกจ้างนายจ้างตาม
กฎหมายแพ่ง สัญญาจ้างทางานดังกล่าวจึงเป็นสัญญาจ้างแรงงาน กรณีน ี ้
�
ี
�
จึงเป็นการกล่าวอ้างว่าจาเลยไม่ปฏิบัติตามข้อตกลงเก่ยวกับสภาพการ
�
ื
ึ
จ้างในเร่องสิทธิประโยชน์อันพึงได้รับจากการทางานซ่งถือเป็นส่วนหน่ง ึ
ของข้อตกลงในการเข้าปฏิบัติงาน คดีน้จึงเป็นกรณีพิพาทเก่ยวด้วยสิทธ ิ
ี
ี
หรอหน้าทตามสญญาจ้างแรงงานและตามข้อตกลงเกยวกบสภาพ
ั
ี
่
่
ี
ั
ื
การจ้าง ตามพระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน
ั
ึ
�
พ.ศ. 2522 มาตรา 8 วรรคหน่ง (1) ซ่งอยู่ในอานาจพิจารณาพิพากษา
ึ
ของศาลยุติธรรม
121