Page 134 - สรุปแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลในคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาฯ
P. 134
ี
�
ี
อานาจหน้าท่ระหว่างศาลท่ 39/2559) และต่อมาได้มีคาวินิจฉัยฯ
�
ี
ให้คดีพิพาทเก่ยวกับสัญญาจ้างระหว่างองค์การมหาชนกับเจ้าหน้าท ี ่
ู
ี
ี
่
ั
ิ
ิ
มลกษณะเป็นสญญาทางปกครอง ทอย่ในอานาจพจารณาพพากษา
ั
�
ของศาลปกครอง โดยวินิจฉัยว่า สัญญาจ้าง “ผู้อานวยการ” สานักงาน
�
�
ความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพ่อนบ้าน (องค์การมหาชน)
ื
�
ึ
ื
�
จาเลย ซ่งเป็นผู้บริหารสูงสุดของสานักงาน เป็นสัญญาเพ่อจัดหาบุคคล
�
ื
มาปฏิบัติงานเป็นผู้บริหารสูงสุดเพ่อให้การดาเนินงานของส�านักงาน
่
ึ
ิ
�
ั
�
ั
ี
อนเป็นการจดทาบรการสาธารณะของจาเลยบรรลุผล ซงมลกษณะ
ั
ั
�
็
เป็นการมุ่งผลสาเรจของงานมากกว่าการจ้างแรงงานและเป็นสญญา
�
�
ท่ให้โจทก์เข้าร่วมจัดทาบริการสาธารณะ (คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท ่ ี
ี
ี
�
ระหว่างศาลท่ 60/2561) สัญญาจ้าง “รองผู้อานวยการ” สานักงาน
�
ี
�
ความร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพ่อนบ้าน (องค์การมหาชน)
ื
�
จาเลย เป็นสัญญาท่ให้โจทก์เข้าร่วมจัดทาบริการสาธารณะ ซ่งเป็น
ี
ึ
�
ความสัมพันธ์ตามกฎหมายมหาชน สัญญาพิพาทจึงเป็นสัญญาทาง
ปกครอง คดีจึงอยู่ในเขตอานาจศาลปกครอง (คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจ
�
ี
�
�
6
หน้าท่ระหว่างศาล ท่ 125/2561)
ี
ี
6 มีข้อสังเกตว่า คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลท60/2561 (สัญญา
�
ี
�
ี
ี
่
�
จ้างผู้อานวยการ) และ 125/2561 (สัญญาจ้างรองผู้อานวยการ) แม้คณะกรรมการ
�
�
�
ี
วินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาล จะวินิจฉัยให้คดีอยู่ในเขตอานาจศาลปกครอง
ี
เหมือนกัน แต่การให้เหตุผลในรายละเอียดมีความแตกต่างกัน โดยคดีพิพาทเก่ยวกับ
ี
�
สัญญาจ้างผู้อานวยการขององค์การมหาชน การให้เหตุผลจะเป็นไปในลักษณะเดียวกับ
ี
ี
คดีพิพาทเก่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารรัฐวิสาหกิจ คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่าง
�
�
ี
ศาลท่ 4/2549 และ 4/2559 โดยให้นาหนักในการเข้าปฏิบัติในฐานะผู้บริหารสูงสุด
ี
�
้
ี
ื
ขององค์กร ส่วนคดีพิพาทเก่ยวกับสัญญาจ้างรองผู้อานวยการใช้เกณฑ์ในเร่องบริการ
�
สาธารณะเป็นหลัก
123