Page 130 - สรุปแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลในคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาฯ
P. 130
ง. คดีพิพาทเก่ยวกับสัญญาจ้างงานระหว่างหน่วยงานอ่น
ี
ื
ั
ของรฐ (เช่น องค์การมหาชน ธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นต้น)
กับเจ้าหน้าท ่ ี
ี
แนวทางการวินิจฉัยในคดีพิพาทเก่ยวกับสัญญาจ้างงาน
ื
ี
ี
ระหว่างหน่วยงานอ่นของรัฐกับเจ้าหน้าท่ คณะกรรมการวินิจฉัยช้ขาด
ี
อานาจหน้าท่ระหว่างศาล วางแนวคาวินิจฉัยในระยะเร่มแรก คณะ
ิ
�
�
กรรมการวินิจฉัยให้คดีพิพาทเก่ยวกับสัญญาจ้างงานระหว่างสานักงาน
�
ี
ื
ึ
พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (ซ่งเป็นหน่วยงานอ่นของ
�
รัฐประเภท “องค์การมหาชน”) กับเจ้าหน้าท่ อยู่ในอานาจพิจารณา
ี
พิพากษาของศาลปกครอง โดยให้เหตุผลว่าเป็นความสัมพันธ์ระหว่าง
ื
�
ึ
ึ
หน่วยงานของรัฐซ่งมีอานาจเหนือลูกจ้างท่เป็นคู่สัญญาอีกฝ่ายหน่งเพ่อ
ี
ให้เข้าร่วมปฏิบัติภารกิจบริการสาธารณะของหน่วยงานของรัฐอันเป็น
ความสัมพันธ์ตามกฎหมายมหาชน เป็นสัญญาทางปกครอง ไม่ใช่ความ
สัมพันธ์ในฐานะลูกจ้างกับนายจ้างตามสัญญาจ้างแรงงานในกฎหมาย
แพ่งท่วไป
ั
แต่ในช่วงปี 2556 ถึง 2558 คณะกรรมการวินิจฉัยให้คด ี
ี
ื
พิพาทเก่ยวกับสัญญาจ้างงานระหว่างหน่วยงานอ่นของรัฐกับเจ้าหน้าท ี ่
อยู่ในอานาจพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรม (ศาลแรงงาน) โดยให้
�
เหตุผลว่า คู่สัญญามีความสัมพันธ์ในฐานะลูกจ้างนายจ้างตามกฎหมาย
แพ่ง สัญญาจ้างทางานดังกล่าวจึงเป็นสัญญาจ้างแรงงาน จึงเป็นกรณ ี
�
ี
พิพาทเก่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าท่ตามสัญญาจ้างแรงงานและตามข้อตกลง
ี
เก่ยวกับสภาพการจ้าง ตามพระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธ ี
ั
ี
พิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 8 วรรคหน่ง (1) ซ่งอยู่ใน
ึ
ึ
�
อานาจพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรม เช่น
119