Page 142 - สรุปแนวคำวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลในคดีพิพาทเกี่ยวกับสัญญาฯ
P. 142
�
�
�
ปกครอง” ได้ หากจาเลยกระทาการใดโดยใช้อานาจทางปกครองหรือ
ี
�
ึ
�
ดาเนินกิจการทางปกครองตามท่ได้รับมอบอานาจจากรัฐซ่งจะอยู่ภายใต้
�
ระบบกฎหมายมหาชน แต่หากกระทาการโดยมิได้ใช้อานาจหรือมิได้
�
�
�
ิ
�
�
ดาเนินกจการทางปกครอง การกระทาของจาเลยย่อมเป็นการกระทาใน
ี
ั
�
ฐานะเอกชนท่วไป และอยู่ภายใต้ระบบกฎหมายเอกชน การท่จาเลยซ่ง ึ
เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนทาสัญญาจ้างโจทก์ให้ทางานในตาแหน่งอาจารย์
�
�
�
คณะวิศวกรรมศาสตร์ แม้จะเป็นการจ้างให้โจทก์มาท�าหน้าที่สอนหนังสือ
�
หรืองานทางวิชาการอันเป็นการจ้างให้มาทาบริการสาธารณะด้านการ
�
ศึกษา แต่การทาสัญญาจ้างระหว่างจาเลยกับโจทก์ จาเลยกระทาใน
�
�
�
�
ฐานะเอกชน มิได้ใช้อานาจตามกฎหมายหรือดาเนินกิจการทางปกครอง
�
�
ตามท่ได้รับมอบหมายมา จาเลยจึงมิได้กระทาการในฐานะหน่วยงานทาง
ี
�
ปกครอง สัญญาจ้างระหว่างจาเลยผู้ว่าจ้างกับโจทก์ ผู้รับจ้างจึงไม่ใช่
�
ึ
สัญญาทางปกครอง เน่องจากไม่มีคู่สัญญาฝ่ายใดฝ่ายหน่งเป็นหน่วยงาน
ื
ทางปกครองหรือเป็นบุคคลท่กระทาการแทนรัฐ ตามบทนิยามสัญญา
�
ี
ทางปกครอง แต่เป็นสัญญาจ้างแรงงานในระบบกฎหมายเอกชน
คาวินิจฉัยช้ขาดอานาจหน้าท่ระหว่างศาลท่ ๒๘/๒๕๕๙
ี
�
ี
ี
�
ั
ี
�
ี
คดีท่ครูโรงเรียนเอกชนลูกจ้างฟ้องโรงเรียนเอกชนนายจ้างท่มีคาส่ง
�
เลิกจ้าง ขอให้ชาระค่าจ้างค้างจ่าย ค่าชดเชย และค่าเสียหาย เป็นข้อพิพาท
ี
ี
ี
เก่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าท่ตามสัญญาจ้างแรงงานหรือตามข้อตกลงเก่ยวกับ
ั
สภาพการจ้าง ตาม พ.ร.บ. จัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคด ี
ึ
แรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 8 วรรคหน่ง (1) อันอยู่ในอานาจพิจารณา
�
พิพากษาของศาลแรงงานซ่งเป็นศาลยุติธรรม แม้ว่าตาม พ.ร.บ. โรงเรียน
ึ
ึ
เอกชนฯ มาตรา 86 วรรคหน่ง จะบัญญัติให้โรงเรียนเอกชนไม่อยู่ภายใต้
บังคับกฎหมายว่าด้วยคุ้มครองแรงงาน กฎหมายว่าด้วยประกันสังคม
131