Page 42 - คู่มือปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุตจริตฯ
P. 42

คู่มือการปฏิบัติงานศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
                                                                                                        | 31



                     คดีตาม (6) ถึง (8) ดังนั้นจ าเลยที่จะถูกฟ้องต่อศาลอาญาคดีทุจริตฯ ได้จะต้องถูกฟ้องขอให้

                     ลงโทษในคดีความผิดตามมาตรา 3 (1) ถึง (5) รวมทั้งคดีตาม (6) ถึง (8) ด้วย จึงจะถือว่าเป็น

                     คดีทุจริตฯ ไม่ว่าจะมีข้อหาหรือความผิดอื่นที่เกี่ยวข้องกันรวมอยู่หรือไม่ก็ตาม ส่วนจ าเลยคนใด

                     ที่ไม่ถูกฟ้องให้ลงโทษในความผิดตามมาตรา 3 (1) ถึง (5) รวมทั้งคดีตาม (6) ถึง (8)

                     ศาลอาญาคดีทุจริตฯ ย่อมไม่มีอ านาจพิจารณาพิพากษาคดีของจ าเลยคนดังกล่าวได้ เนื่องจาก


                     ไม่ได้ถูกฟ้องให้ลงโทษในความผิดคดีทุจริตฯ นอกจากนี้ในการฟ้องคดีอาญาส าหรับการกระท า

                     อันเป็นกรรมเดียวเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งฯ มาตรา 8 และในการ

                     ฟ้องคดีอาญาส าหรับการกระท าอันเป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ตาม พ.ร.บ. จัดตั้งฯ มาตรา 9

                     ต้องมีความผิดบทใดบทหนึ่งหรือกรรมใดกรรมหนึ่งเป็นคดีทุจริตฯ หากจ าเลยหลายคนร่วม

                     กระท าความผิดและจ าเลยคนใดไม่ได้ถูกฟ้องขอให้ลงโทษในความผิดคดีทุจริตฯ ด้วย แม้จะร่วม


                     กระท าความผิดบทอื่นหรือกรรมอื่นกับจ าเลยที่ถูกฟ้องขอให้ลงโทษในความผิดคดีทุจริตฯ

                     ก็ไม่ถือว่าคดีส าหรับจ าเลยคนนั้นเป็นคดีทุจริตฯ ค าว่า “การกระท าอันเป็นความผิดหลายกรรม

                     ต่างกันในความผิดที่เกี่ยวข้องกัน” ตามมาตรา 9 จึงต้องแปลความไปในท านองเดียวกันกับ

                     มาตรา 3 กล่าวคือ จ าเลยที่ถูกฟ้องต่อศาลอาญาคดีทุจริตฯ กรณีกระท าความผิดหลายกรรม

                     ต่างกันต้องถูกฟ้องขอให้ลงโทษในความผิดคดีทุจริตฯ มากับคดีความผิดอื่น ที่ไม่อยู่ในอ านาจ

                     ของศาลอาญาคดีทุจริตฯ ถ้าจ าเลยคนใดไม่ได้ถูกฟ้องขอให้ลงโทษในความผิดคดีทุจริตฯ เลย

                     แม้จะร่วมกระท าความผิดกรรมอื่นกับจ าเลยที่ถูกฟ้องขอให้ลงโทษในความผิดคดีทุจริตฯ ด้วย


                     ศาลอาญาคดีทุจริตฯ ก็ไม่มีอ านาจพิจารณาพิพากษาคดีส าหรับจ าเลยคนดังกล่าวได้ ค าวินิจฉัย

                     ของประธานศาลอุทธรณ์ที่ วท. 18/2561 และ วท. 9 - 10/2561 ที่วินิจฉัยให้คดีทั้งส านวน

                     เป็นคดีทุจริตฯ จึงไม่สอดรับกับบทบัญญัติดังกล่าว ทั้งจะก่อให้เกิดปัญหาอื่นตามมาอีก คือ

                     กรณีตามค าวินิจฉัยของประธานศาลอุทธรณ์ที่ วท. 9 - 10/2561 อาจท าให้ผลของ

                     ค าพิพากษาของส านวนคดีแรกในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดกับส านวนคดีที่สองแตกต่างกันได้


                     เนื่องจากเป็นศาลที่พิจารณาพิพากษาคดีต่างศาลกัน และยังท าให้จ าเลยอื่นที่ไม่ได้ถูกฟ้องขอให้

                     ลงโทษในคดีในความผิดคดีทุจริตฯ ต้องได้รับผลกระทบตาม พ.ร.บ.  วิ. ทุจริตฯ หลายประการ

                     เช่น หากจ าเลยหลบหนีไปในระหว่างพิจารณาคดีของศาล มิให้นับระยะเวลาที่หลบหนีรวมเป็น

                     ส่วนหนึ่งของอายุความ หรือถ้าจ าเลยหลบหนีไปในระหว่างที่ได้รับการปล่อยชั่วคราวก็เป็น

                     ความผิดที่มีโทษทางอาญา และสามารถพิจารณาพิพากษาคดีลับหลังจ าเลยได้ รวมทั้ง
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47