Page 126 - Liver Diseases in Children
P. 126

116      โรคตับในเด็ก




                    ี pthaigastro.org
                 - คีโตนในปัสสาวะ ทารกที่เป็น fatty acid  อีกประการคือ GSD I จะพบมีกรดยูริกและแล็กเทต
                                 ้
                                      �
                                      ่
            oxidation defects จะมีน�าตาลตาในเลือด โดยตรวจ  สูงในเลือด แต่เป็นปกติใน GSD III นอกจากนี  ้
            ไม่พบคีโตนในปัสสาวะ                           GSD I มักมีค่าเอนไซม์ aminotransferase สูง
                 2. การตรวจทางรังสีวิทยา อัลตราซาวนด์ช่อง  ในช่วงแรก และกลับเป็นปกติเมือได้รบการรกษา
                                                                                           ั
                                                                                       ่
                                                                                                 ั
            ท้องในผู้ป่วย GSD I อาจพบไตโตร่วมกับตับโต     ที่เหมาะสม  ส่วน  GSD  III  มักมีค่าเอนไซม์
                           ื
                 3. การเจาะเน้อตับ ลักษณะทางจุลพยาธิวิทยาของ  aminotransferase สูงอย่างต่อเนื่อง
            ตับ ได้แก่ เซลล์ตับมีขนาดใหญ่จากไกลโคเจนและไขมัน     ควรวินิจฉัยแยกโรคจากโรคอื่น ๆ ที่ท�าให้มีตับ
                                             ึ
            สะสม ใน GSD I จะไม่พบพังผืด (fibrosis) ซ่งแตกต่างกับ  โตได้ เช่น lysosomal storage disorders ซึ่งได้แก่
            GSD III และ IV ซ่งอาจพบพังผืดและ micronodular  Gaucher disease, Niemann-Pick type B แต่ใน
                           ึ
                                                                                                    ่
                                                                                              ้
                                                                                              �
            cirrhosis ได้ การย้อมพิเศษด้วย periodic acid Schiff  กลุ่มโรคนี้จะมีม้ามโตมาก และไม่มีภาวะนาตาลตา
                                                                                                    �
            และ diastase ช่วยยืนยันโรค GSD (รูปที่ 7.3)   ในเลือด
                                                                       9
                 4. การตรวจวิเคราะห์เอนไซม์ ในประเทศไทย        การรักษา  การรักษาด้วยโภชนาการเป็นการ
                                               ื
            ยังไม่สามารถตรวจวัดระดับเอนไซม์ในเน้อเย่อตับ  รักษาหลักในโรค GSD I ควรบริโภคคาร์โบไฮเดรต
                                                  ื
                                                                         ื
                                                                                             �
                                                                                             ่
            เพื่อวินิจฉัย GSD I                           ในปริมาณปกติเพ่อหลีกเลี่ยงภาวะนาตาลตาในเลือด
                                                                                       �
                                                                                       ้
                                                                ื
                 5. การตรวจทางอณูพันธุศาสตร์ การตรวจหา    และเพ่อควบคุมทางเมแทบอลิก (metabolic control)
            ล�าดับเบส (DNA sequencing) ของยีน G6PC และ    ให้เหมาะสม ความต้องการกลูโคสจะลดลงเมื่ออายุ
            ยีน SLC37A4 ช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรค GSD Ia  เพิ่มขึ้น ผู้ใหญ่จึงทนต่อการอดอาหารได้นานกว่าเด็ก
            และ Ib ตามลาดับ การวิเคราะห์ targeted mutation  การรักษาเพ่อให้มีระดับนาตาลในเลือดปกติในช่วง
                                                                    ื
                                                                               ้
                                                                               �
                       �
                                                                   �
                                              ี
                                                  ่
            มีประโยชน์ในกรณีทราบการกลายพนธท่พบบอยใน       กลางคืนทาได้โดยให้อาหารหยดต่อเนื่องทางสายให้
                                            ์
                                          ั
                                            ุ
            ประชากรบางเช้อชาติ ในปัจจุบันการตรวจหาการ  อาหาร (continuous tube feeding) หรือกินคาร์โบไฮเดรต
                         ื
            กลายพันธ์ุด้วยเทคนิค next-generation sequencing  ทีถูกย่อยช้าก่อนนอน เช่น แป้งข้าวโพดดิบ (uncooked
                                                           ่
                         ี
                                   ิ
                                      ึ
            (NGS) เป็นวิธที่นิยมใช้เพ่มข้นเนื่องจากสามารถ  corn starch; UCCS) การทบทวนวรรณกรรมอย่าง
            ตรวจได้หลาย ๆ ยีนพร้อมกัน และสามารถหลีกเลี่ยง  เป็นระบบ (systematic review)  และการวิเคราะห์
            การเจาะเนื้อตับได้ 15                         อภิมาน (meta-analysis) พบว่าการรักษาทั้งสองวิธี
                                                                           �
                                                                           ้
                 การวินิจฉัยแยกโรค GSD I และ III มีลักษณะ  ช่วยให้ผู้ป่วยมีระดับนาตาลในเลือดปกติในช่วงกลางคืน
            ทางคลินิกคล้ายกัน คือ ตับโต น�าตาลตาในเลือด  และมีการเจริญเติบโตไม่แตกต่างกัน  ในช่วงกลางวัน
                                                                                       16
                                               �
                                               ่
                                         ้
                                                                                                    �
                                                                                              ้
                                                                                                    ่
                                           ิ
            และไขมันสูงในเลือด แต่ GSD I จะเร่มมีอาการของ  การให้ UCCS เป็นมื้อ ๆ ช่วยป้องกันภาวะน�าตาลตา
            น�้าตาลต�่าในเลือดภายในอายุ 2-3 เดือน น�้าตาลต�่า  ในเลือดในเด็กได้ดีกว่าการให้เดกซ์โทรสหรือ
                                                                                                   ี
                                                              ์
            ในเลือดท่พบใน GSD III มักไม่รุนแรงเน่องจาก    เดกซโทรสผสมกับ UCCS ข้อควรระวัง คือ หลีกเล่ยง
                                                 ื
            กระบวนการ gluconeogenesis ยังปกติ และยังมี    การให้อาหารมากเกินไป  ควรให้อาหารที่สมดุล
            เอนไซม์ hepatic phosphorylase ในการสลาย  กล่าวคือ มีชนิด ปริมาณ และคุณภาพของสารอาหาร
            peripheral branches ของไกลโคเจน ความแตกต่าง   ต่าง ๆ ครบถ้วนตามที่ร่างกายต้องการ 17
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131