Page 260 - Liver Diseases in Children
P. 260

250      โรคตับในเด็ก




              pthaigastro.org
            สนองแบบ hyperplastic response ของเซลล์ตับ     สรุป
            ลักษณะทางจุลพยาธิวิทยาพบเป็นกลุ่มของเซลล์ตับ       ถึงแม้ว่าจะพบเนื้องอกตับปฐมภูมิได้ไม่บ่อย
                    ิ
                             ึ
            ที่มีการเพ่มจ�านวนข้น (liver cell hyperplasia)    ในเด็กเมื่อเทียบกับเน้องอกชนิดอื่น ๆ แต่ก็มีความ
                                                                            ื
            อยู่ล้อมรอบ central fibrovascular scar และมี    สาคัญ โดยเฉพาะ hepatoblastoma ซึ่งเป็นเน้องอก
                                                                                                ื
                                                           �
            radiating  septa  แผ่ออกโดยรอบ  ซ่งถ้าดูจาก   ร้ายของตับทพบบ่อยทีสด ในปัจจุบันมีผลการรกษา
                                              ึ
                                                                              ุ
                                                                     ่
                                                                     ี
                                                                             ่
                                                                                                 ั
            เอกซเรย์คอมพิวเตอร์หรือเอ็มอาร์ไอจะพบลักษณะ   ที่ดีข้นเนื่องจากมียาเคมีบาบัดท่ดี และนาเอาการ
                                                                                             �
                                                                                �
                                                                                     ี
                                                              ึ
            เป็น central scar บริเวณกลางก้อน (รูปที่ 13.4) ถึง  ปลูกถ่ายตับเข้ามาร่วมอยู่ในแนวทางการรักษา แต่
                                                   ั
            แม้ว่า FNH จะเป็นเน้องอกชนิดไม่ร้าย และการรกษา  อยางไรกตามยงคงมีความจ�าเป็นต้องพฒนาเทคนิค
                             ื
                                                             ่
                                                                                           ั
                                                                       ั
                                                                  ็
            เป็นแบบอนุรักษ์ (conservative treatment) แต่ใน  การตรวจทางรังสีวิทยาและการตรวจในระดับ
                         ่
            เด็กโดยเฉพาะทีมีอายน้อยกว่า 5 ปี มักต้องได้รบ  โมเลกุล  เพ่อจะได้น�ามาช่วยในการวินิจฉัย  และ
                              ุ
                                                     ั
                                                                     ื
                     ิ
            การตรวจช้นเนื้อหรือผ่าตัดน�าก้อนออกมาเพื่อวินิจฉัย  วางแผนการรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสม
            แยกจากเนื้องอกร้าย                            กับผู้ป่วยต่อไป












            รูปที่ 13.4 ภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ของเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยเป็น focal nodular hyperplasia (FNH)
                     ก) ภาพตัดขวางในช่วง arterial phase  พบว่าก้อนอยู่ที่ตับกลีบขวาพบมีลักษณะ enhancement และ
                       มีหลอดเลือดวิ่งเข้าไปบริเวณกลางก้อน (fibrovascular scar)
                     ข) ภาพตัดขวางในช่วง delayed phase แสดงให้เห็นลักษณะ enhancement ที่ค่อย ๆ จางลงจน

                       ใกล้เคียงกับเนื้อตับ และพบว่ามี central scar ซึ่งมี enhancement ขึ้น
                        (* ได้รับความอนุเคราะห์รูปจากรองศาสตราจารย์แพทย์หญิงวรนุช จงศรีสวัสดิ์)
   255   256   257   258   259   260   261   262   263   264   265