Page 273 - Liver Diseases in Children
P. 273
ตับวายเฉียบพลัน 263
pthaigastro.org
่
ั
้
�
ื
controlled trial) พบว่ากลุ่มที่ได้ NAC มีอัตรารอด ติดตามตรวจระดับนาตาลในเลอดทุก 2-4 ชวโมง
้
้
ชีวิตโดยไม่ต้องปลูกถ่ายตับต�ากว่า โดยเฉพาะในเด็ก ไม่ควรงดอาหาร โดยอาจใหอาหารทางสายใหอาหาร
่
อายุน้อยกว่า 2 ปี 14 ผ่านกระเพาะอาหารหรือล�าไส้เล็ก ควรให้โปรตีน
ขนาด 1-2 กรัม/กก./วัน
กำรรักษำสมดุลของสำรน�้ำ 5
อำกำรทำงสมองและสมองบวม 5,16,17
ผู้ป่วยที่มีตับวายเฉียบพลันมีแนวโน้มจะเกิด
้
�
สมองบวมและปอดบวมนา (pulmonary edema) อาการทางสมองจากโรคตับ (hepatic
จึงควรให้สารนาอย่างระมัดระวัง ในช่วงแรกอาจต้อง encephalopathy, HE) และสมองบวม (cerebral
�
้
�
ให้สารน�้าจนมี tissue perfusion เพียงพอ สารน�้าที่ edema) นาไปสู่ภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะ
ึ
ให้ในช่วง maintenance ควรเป็น 10% dextrose (intracranial hypertension) ซ่งเป็นสาเหตุการตาย
ใน 0.45 หรือ 0.90% NaCl โดยให้ปริมาณร้อยละ หลักในผู้ป่วยตับวายเฉียบพลัน การตรวจคลื่นไฟฟ้า
80 ของความต้องการปกติ ควรตรวจติดตาม serum สมองมีประโยชน์ในการประเมินความผิดปกติของ
ื
้
osmolality การให้สารน�าเพ่อให้มีโซเดียมสูงในเลือด สมอง การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์อาจช่วย
ื
ั
ิ
(ประมาณ 145-150 mEq/ลิตร) อาจมีประโยชน์ช่วย วนิจฉยสมองบวม เลือดออกในสมอง หรอการท�าลาย
�
ป้องกันสมองบวม ผู้ป่วยอาจมีความต้องการ สมองอย่างถาวร การประเมินการทางานของสมอง
โพแทสเซียมสูงถึง 3-6 มิลลิโมล/กก./วัน ร่วมกับ และตรวจวัดแอมโมเนียในเลือดเป็นระยะ ๆ มีความ
อาจมีฟอสเฟตต�าในเลือดจึงควรให้ potassium จ�าเป็นในการติดตามอาการทางสมองจากโรคตับ
่
phosphate ทางหลอดเลือด การใส่ intracranial pressure monitoring ยังไม่
่
ิ
ั
ี
ในรายท่มีปัสสาวะออกน้อย ควรให้ยาขับ เป็นมาตรฐานในการรกษา เนืองจากอาจท�าให้เกด
ปัสสาวะ เช่น furosemide 1-3 มก./กก. ทุก 6 ช่วโมง เลือดออกถ้าผู้ป่วยมีการแข็งตัวของเลือดผิดปกติมาก
ั
และสารละลาย colloid หรือ fresh frozen plasma - อาการทางสมองจากโรคตับ ถึงแม้ว่ามี
(FFP) เพ่อให้มี renal perfusion อย่างเพียงพอ ส่วน neurotoxins หลายชนิดที่มีความสัมพันธ์กับ HE การ
ื
ในรายที่มีปัสสาวะออกน้อยมากหรือไม่มีปัสสาวะ รักษา HE ยังมุ่งเน้นเพื่อลดระดับแอมโมเนีย ได้แก่
ควรรักษาด้วย hemofiltration หรือ dialysis จ�ากัดโปรตีนไม่เกิน 1-2 กรัม/กก./วัน อาจให้ยา
ระบาย lactulose และหากเกิดผลข้างเคียงท้องร่วง
5,15
ควำมผิดปกติทำงเมแทบอลิก อาจพิจารณาให้ยาปฏิชีวนะทไม่ดูดซึม เช่น rifaximin
ี
่
ควรให้สารละลายกลูโคสที่มีความเข้มข้นสูง นอกจากนี้ต้องป้องกันและรักษาภาวะที่ท�าให้ HE
ึ
(10-50% dextrose) ในปริมาณ 4-6 มก./กก./นาที รุนแรงข้น เช่น การติดเช้อในกระแสเลือด เลือดออก
ื
ผู้ป่วยบางรายอาจต้องการกลูโคสสูงถึง 12-15 มก./ ในทางเดินอาหาร อิเล็กโทรไลต์ผิดปกติ และ
กก./นาที ซึ่งมักต้องให้สารละลายกลูโคสผ่านหลอด หลีกเลี่ยงการใช้ยาท�าให้สงบ (sedation) โดยเฉพาะ
�
�
้
เลือดด�าใหญ่เพ่อป้องกันภาวะนาตาลตาในเลือด ควร ยากลุ่ม benzodiazepine
ื
่