Page 204 - Liver Diseases in Children
P. 204
194 โรคตับในเด็ก
pthaigastro.org
ตารางที่ 10.4 ยาที่ใช้รักษาการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบีในเด็ก (ดัดแปลงจากเอกสารอ้างอิงที่ 1, 27, 28)
ยา ข้อบ่งชี้ การบริหารยา ข้อดี/ข้อด้อย
Interferon-α* อายุมากกว่า 5-10 ล้านยูนิต/ตร.ม. - ระยะเวลาการรักษาแน่นอน ไม่ท�าให้เกิดเชื้อดื้อยา
1 ปี ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง - พบผลข้างเคียงบ่อย (เช่น ไข้ อาการคล้ายไข้
สัปดาห์ละ 3 ครั้งเป็นเวลา หวัดใหญ่ กดไขกระดูก โรคต่อมไทรอยด์ ซึมเศร้า)
นาน 24 สัปดาห์ - ประสิทธิภาพ** ร้อยละ 20-40
Lamivudine อายุมากกว่า 3 มก./กก./วัน (ขนาดสูงสุด - Low genetic barrier (พบเชื้อดื้อยาบ่อย)
2 ปี 100 มก./วัน) กินวันละ - พบผลข้างเคียงน้อย
1 ครั้ง - ประสิทธิภาพ** ร้อยละ 23 หลังรักษานาน
52 สัปดาห์
Adefovir อายุมากกว่า 10 มก. กินวันละ 1 ครั้ง - พบผลข้างเคียงน้อย
dipivoxil 12 ปี - ประสิทธิภาพ** ร้อยละ 16 หลังรักษานาน 48
สัปดาห์
Telbivudine อายุมากกว่า 600 มก. กินวันละ 1 ครั้ง - พบผลข้างเคียงน้อย
16 ปี - การศึกษาในผู้ใหญ่พบ HBeAg seroconversion
ร้อยละ 48 หลังรักษานาน 5 ปี
Tenofovir อายุมากกว่า 300 มก. กินวันละ 1 ครั้ง - High genetic barrier (พบเชื้อดื้อยาน้อย)
disoproxil 12 ปี - พบผลข้างเคียงน้อย
fumarate - ประสิทธิภาพ** ร้อยละ 21 หลังรักษานาน
72 สัปดาห์
Entecavir อายุมากกว่า น้�าหนัก - High genetic barrier (พบเชื้อดื้อยาน้อย)
2 ปี 10-11 กก. : 0.15 มก. - พบผลข้างเคียงน้อย
11-14 กก. : 0.2 มก. - ประสิทธิภาพ** ร้อยละ 24 หลังรักษานาน 48
14-17 กก. : 0.25 มก. สัปดาห์
17-20 กก. : 0.3 มก.
20-23 กก. : 0.35 มก.
23-26 กก. : 0.4 มก.
26-30 กก. : 0.45 มก.
มากกว่า 30 กก. : 0.5 มก.
กินวันละ 1 ครั้ง
*ห้ามใช้ในโรคตับรุนแรง (decompensated liver disease) เม็ดเลือดหรือเกล็ดเลือดต�่า ไตหรือหัวใจผิด
ปกติอย่างรุนแรง และโรคภูมิต้านตนเอง (autoimmune disease)
** มี HBeAg seroconversion และตรวจไม่พบ HBV DNA