Page 205 - Liver Diseases in Children
P. 205

ไวรัสตับอักเสบ   195




              pthaigastro.org
             และเมื่อฉีดวัคซีนกระตุ้น 1 เข็ม ประมาณร้อยละ 97  การติดเชื้อโดยไม่มีอาการ (subclinical breakthrough
             มีระดับ anti-HBs สูงขึ้น (anamnestic response)  infection) คือ ตรวจพบ anti-HBc หรือ HBsAg
                                                                          36
             วรนุช จงศรีสวัสดิ์และคณะรายงานการตอบสนอง      ประมาณร้อยละ 26  แต่ไม่มีอาสาสมัครที่มีอาการของ
                                                                             ี
                                                                  ื
             ต่อวัคซีนป้องกัน HBV ในเด็กที่ได้รับวัคซีนชุดแรก  โรคตับเร้อรัง สาเหตุท่ท�าให้วัคซีนไม่สามารถป้องกัน
             ครบแต่ตรวจไม่พบ anti-HBs จ�านวน 90 คน  พบว่า  การติดเชื้อในทารก (vaccine failure) ได้แก่
                                                 34
                                                                         ื
             เด็กร้อยละ 95 มี anti-HBs เป็นบวกหลังฉีดวัคซีน     - การติดเช้อในครรภ์ (intrauterine transmission)
             กระตุ้น 1 เข็ม ดังนั้นโดยทั่วไปยังไม่จ�าเป็นต้องฉีด  มีรายงานการพบเชื้อ HBV ในรกและในสายสะดือ

                                       ่
                                                   ่
             วัคซนกระตุ้นในเด็กสขภาพดี เนืองจากวัคซีนทีได้รับ  นอกจากนี้ยังมีรายงานพบเชื้อ HBV ในเนื้อเยื่อตับ
                ี
                              ุ
                                                                                         ี
             ในชุดแรกยังสามารถป้องกันการติดเช้อได้ถึงแม้ว่า  ของทารกที่เสียชีวิตในครรภ์ของแม่ท่เป็นพาหะ HBV
                                             ื
                                                                               ื
             จะตรวจไม่พบ anti-HBs ยกเว้นในกลุ่มเสี่ยง เช่น มี  อย่างไรก็ตามการติดเช้อในครรภ์ไม่ได้เป็นสาเหตุ
             สมาชิกในครอบครัวเป็นพาหะ HBV หรือเด็กท่มี     หลักของ vaccine failure ยง ภู่วรวรรณและคณะ
                                                      ี
             ภูมิคุ้มกันบกพร่อง การศึกษาในเด็กที่ได้รับการปลูก  ได้ศึกษาทารกที่เกิดจากแม่ที่เป็นพาหะ HBV จ�านวน
             ถ่ายตับที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์จ�านวน 50 คน โดย  32 คน (HBsAg เป็นบวก 13 คน HBsAg และ
                                                                                  37
             ทุกคนได้รับวัคซีนป้องกัน HBV ชุดแรกครบ และมี  HBeAg เป็นบวก 19 คน) ผลการศึกษาพบว่า ที่
             ผลตรวจ  anti-HBs  ก่อนปลูกถ่ายตับในระดับที ่  อายุ 24-72 ชั่วโมงไม่มีทารกที่ตรวจพบ HBV DNA
                                  ื
             สามารถป้องกันการติดเช้อได้ (ค่าเฉลี่ย 584.41  ±   ใน peripheral blood mononuclear cells (PBMC)
                                                                   ่
             415.45 ไอยู/ลิตร)  ผลการศึกษาพบว่าเด็กมี anti-HBs   ในขณะทีพบ HBV DNA ใน PBMC ประมาณ
                           35
             น้อยกว่า 10 ไอยู/ลิตร ร้อยละ 46, 57 และ 82 เมื่อ  ร้อยละ 69 และ 95 ในแม่ที่ HBsAg เป็นบวก และ
             ติดตามที่ 1, 2 และมากกว่า 3 ปีหลังปลูกถ่ายตับ   HBsAg, HBeAg เป็นบวกตามล�าดับ
                                                                          ื
             นอกจากนี้ยังพบเด็ก 1 คนที่เกิดตับอักเสบจากการ      - การติดเช้อในระยะก่อนคลอดหรือแรกเกิด
             ติดเชื้อ HBV ทั้ง ๆ ที่มี anti-HBs ก่อนปลูกถ่ายตับ  (perinatal transmission) สามารถพบเชื้อ HBV ได้

             สูงมากกว่า 1,000 ไอยู/ลิตร และรับตับจากพ่อซึ่งมี   ในน�้าคร�่า และน�้าจากช่องคลอดของแม่ที่เป็นพาหะ
                                                                            ื
                                                                                              ี
             anti-HBc เป็นลบ จะเห็นได้ว่ามีความจ�าเป็นต้องฉีด  HBV พบการติดเช้อจากแม่สู่ลูกในช่วงน้เป็นส่วน
                                                                             ่
             วัคซีนกระตุ้นในเด็กที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง    ใหญ่ ทารกของแม่ทีมี HBeAg เป็นบวก ระดับ
                                                                                           ี
                                                           HBsAg หรือ HBV DNA สูงมีโอกาสเส่ยงสูงที่จะเกิด
             ควำมล้มเหลวของกำรป้องกันกำรติดเช้อ            vaccine failure
                                                      ื
             ด้วยวัคซีน (vaccine failure)                       -  การติดเช้อในระยะหลังเกิด  (postnatal
                                                                           ื
                                                                                              ้
                  ถึงแม้ว่าวัคซีนป้องกัน HBV จะมีประสิทธิภาพดี  transmission) ถึงแม้พบเชื้อ HBV ได้ในน�าลายและ
             แต่ยังพบทารกติดเชื้อจากแม่ได้ ยง ภู่วรวรรณและ  นานมแม่ ทารกก็ยังสามารถกินนมแม่ได้ แต่ทารกอาจ
                                                            ้
                                                            �
             คณะรายงานการติดตามอาสาสมัครที่มีแม่เป็นพาหะ  ติดเชื้อได้ถ้าแม่มีเลือดออกจากบาดแผลที่หัวนม
                                                                           ี
             HBV และมี HBeAg เป็นบวกเป็นเวลา 20 ปี พบ      การติดเช้อในระยะนไม่ได้เป็นสาเหตุหลักของ vaccine
                                                                  ื
                                                                           ้
   200   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210