Page 12 - แผนการจัดการเรียนรู้ ทัศนศิลป์ ม.1 (new)
P. 12
ขั้นที่ 1 ขั้นน า
1. ครูให้นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) แล้วครูแจกภาพวาดให้นักเรียนกลุ่มละ
2 ภาพ จากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ความแตกต่างของภาพดังกล่าว
2. ครูสุ่มนักเรียนแต่ละกลุ่มให้บอกความแตกต่างของภาพดังกล่าว โดยครูและเพื่อนกลุ่มอื่นร่วมกัน
แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมในส่วนที่แตกต่างกันออกไป
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มจับคู่กันเป็น 2 คู่ ให้แต่ละคู่ร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง ทัศนธาตุกับการจัด
องค์ประกอบศิลป์ จากหนังสือเรียน และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ในหัวข้อที่ก าหนดให้ ดังนี้
แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาศิลปะ 1 (ทัศนศิลป์) - คู่ที่ 1 ศึกษาความรู้เรื่อง เอกภาพ ความสมดุล จังหวะและจุดสนใจ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รหัสวิชา ศ21101 - คู่ที่ 2 ศึกษาความรู้เรื่อง ความกลมกลืนและความขัดแย้ง และสัดส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษาลงในแบบบันทึกการอ่าน จากนั้นร่วมกันสรุปสาระส าคัญ
เรื่องทัศนธาตุ เวลา 5 ชั่วโมง 2. สมาชิกแต่ละคู่ช่วยกันท าใบงานที่ 2.3 เรื่อง หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ เมื่อท าเสร็จแล้วช่วยกัน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องทัศนธาตุกับการจัดองค์ประกอบศิลป์ ตรวจสอบความถูกต้องและเติมเต็มค าตอบให้สมบูรณ ์
เวลา 2 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวสันต์ แสงรัตนกูล 3. สมาชิกแต่ละคู่น าความรู้ที่ได้จากการศึกษาและจากการท า ใบงานที่ 2.3 มาอธิบายให้เพื่อนอีกคู่หนึ่งฟัง
ผลัดกันซักถามข้อสงสัยและอธิบายจนทุกคนมีความเข้าใจชัดเจนตรงกัน จากนั้นร่วมกันคัดเลือก
ผลงานในใบงานที่ดีที่สุด เพื่อเตรียมน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
4. ครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่า การจัดองค์ประกอบศิลป์เป็นทฤษฎีเบื้องต้นของการสร้างงาน
ศิลปะ เนื่องจากเป็นแนวทางที่ศิลปินใช้เป็นหลักในการสร้างสรรค์ผลงานและการพิจารณาคุณค่าของ
มาตรฐาน ศ 1.1 งานศิลปะ
สร้างสรร ค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 5. นักเรียนตอบค าถามกระตุ้นความคิดชั่วโมงที่ 2
วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความ ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
รู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ใน 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ทัศนธาตุกับการจัดองค์ประกอบศิลป์
ชีวิตประจ าวัน 2. ครูเน้นย้ าให้นักเรียนเห็นความส าคัญของการจัดองค์ประกอบศิลป์และแนะน าให้นักเรียนน าความรู้ที่ได้
จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ต่อไป
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอผลงานในใบงานที่ 2.3 หน้าชั้นเรียน โดยครูและเพื่อนกลุ่มอื่น
ร่วมกันแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะ
ตัวชี้วัดที่ ม.1/1
บรรยายความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์
และสิ่งแวดล้อม โดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ
1) หนังสือเรียน ทัศนศิลป์ ม.1
2) บัตรภาพ
3) ใบงานที่ 2.3 เรื่อง หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์
1) อธิบายองค์ประกอบศิลป์ได้
2) จัดองค์ประกอบศิลป์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมสาระ
การเรียนรู้
- ตรวจใบงานที่ 2.3 เรื่อง หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์
- ตรวจบันทึกการอ่าน
- ประเมินการน าเสนอผลงาน
การจัดองค์ประกอบศิลป์เป็นการน าเอาทัศนธาตุต่างๆ มาจัดวาง - สังเกตพฤติกรรมการท างานรายบุคคล การท างานกลุ่ม
สร้างรูปแบบต่างๆ อย่างลงตัว เหมาะสม ตามหลักเกณฑ์การจัด
องค์ประกอบศิลป์ เพื่อให้ได้ผลงานทัศนศิลป์ที่สวยงาม
ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิด
- ทักษะการวิเคราะห์
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต