Page 49 - alro46
P. 49
2.2.2 ส.ป.ก. จะน�ำที่ดินแปลงใดในส่วนนั้นไปด�ำเนินกำรปฏิรูปที่ดิน
ื
เพ่อเกษตรกรรม
ี
ี
ื
ั
ในการประชุมคณะกรรมการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรม คร้งท่ 1/2541 เม่อ
ื
ื
ื
ี
ี
ี
ึ
วันท่ 17 เมษายน 2541 เร่องท่ 3.1 คณะกรรมการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรมได้พิจารณาส่วนหน่ง
ื
ของบทบัญญัติมาตรา 26 (4) แห่งพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 แก้ไข
ี
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2532 ที่ว่า “...เมื่อ ส.ป.ก. จะน�าที่ดินแปลงใดในสวนนั้นไปด�าเนินการปฏิรูป
่
ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม...” ประกอบความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะที่ 6)
ในเร่องเสร็จท่ 214/2538 ข้อเสนอของประธานคณะอนุกรรมการกฎหมายและระเบียบ (นายชัยวัฒน์
ื
ี
ื
ี
ั
ี
วงศ์วัฒนศานต์) ในการประชุม คร้งท่ 2/2540 เม่อวันท่ 11 เมษายน 2540 ความเห็นและข้อเสนอ
�
ของ ส.ป.ก. แล้วมีมติความว่า “พระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรูปท่ดินจะมีผลเป็นการเพิกถอน
ี
ป่าสงวนแห่งชาติตามความในมาตรา 26 (4) แห่งพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรม
ื
ี
พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2532 เมื่อ ส.ป.ก. ได้เสนอโครงการและแผนงานที่ชัดเจน
ให้คณะกรรมการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรมอนุมัติเรียบร้อยแล้ว” โดยในประเด็นดังกล่าว ส.ป.ก.
ื
ี
เคยมีหนังสือด่วนที่สุด ที่ กษ 1205/6176 ลงวันที่ 30 กรกฎาคม 2545 ชี้แจงการตอบข้อหารือจังหวัด
ก�าแพงเพชรของกรมป่าไม้ตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กษ 0705.05/14735 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2545
(กรมป่าไม้นาส่งสาเนาหนังสือ ด่วนท่สุด ท่ กษ 0705.05/14735 ให้ ส.ป.ก. ตามหนังสือด่วนท่สุด
ี
�
ี
ี
�
ี
ท่ กษ 0705.05/16109 ลงวันท่ 28 มิถุนายน 2545) ความว่า “การท่คณะกรรมการปฏิรูปท่ดิน
ี
ี
ี
ี
ื
ี
เพ่อเกษตรกรรมอนุมัติให้ ส.ป.ก. นาท่ดินมาดาเนินการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรม หรืออนุมัติให้
ื
�
�
ประกาศเขตปฏิรูปท่ดิน คือ การอนุมัติแผนงานและงบประมาณให้ดาเนินการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรม
ี
�
ี
ื
ในที่ดินนั้น ๆ ทั้งพื้นที่แล้ว จะไม่มีการอนุมัติแผนงานและงบประมาณเป็นการเฉพาะแปลงอีก” อย่างไร
ก็ตาม ในประเด็นดังกล่าวอาจมีผู้โต้แย้งความเห็นของคณะกรรมการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรมและ
ื
ี
ส.ป.ก. โดยอาศัยความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (กรรมการร่างกฎหมาย คณะท่ 7) ในเร่องเสร็จท ่ ี
ี
ื
ี
�
307/2549 ความว่า “พระราชกฤษฎีกากาหนดเขตปฏิรูปท่ดินจะมีผลเป็นการเพิกถอนป่าสงวนแห่งชาต ิ
ิ
ิ
ื
่
ี
ู
่
ั
ั
ตามความในมาตรา 26 (4) แห่งพระราชบญญตการปฏรปทดนเพอเกษตรกรรม พ.ศ. 2518 แก้ไข
ิ
ิ
ื
เพ่มเติม (ฉบับท่ 3) พ.ศ. 2532 ต่อเม่อมีองค์ประกอบครบอีก 2 ประการ คือ คณะรัฐมนตรีมีมติให้
ี
ื
ั
ดาเนินการปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรมในเขตป่าสงวนแห่งชาติน้น และ ส.ป.ก. จะนาท่ดินแปลงน้น
ี
�
�
ั
ี
�
�
ื
ี
ไปดาเนินการปฏิรูปท่ดิน เม่อข้อเท็จจริงปรากฏว่า ส.ป.ก. ยังมิได้เข้าไปดาเนินการในพ้นท่ป่าสงวน
ี
ื
ั
แห่งชาติบริเวณใด พ้นท่น้นยังคงมีสถานะเป็นพ้นท่ป่าสงวนแห่งชาติอยู่เช่นเดิม” และอาจมีการกล่าว
ื
ี
ื
ี
ี
�
อ้างความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาฉบับดังกล่าว ประกอบคาพิพากษาศาลฎีกาท่ 15189/2558
ึ
ื
ี
ึ
ซ่งวินิจฉัยไว้ส่วนหน่งความว่า “บทบัญญัติมาตรา 26 (4) แห่งพระราชบัญญัติการปฏิรูปท่ดินเพ่อ
เกษตรกรรม พ.ศ. 2518 แก้ไขเพ่มเติม (ฉบับท่ 3) พ.ศ. 2532 มุ่งหมายให้ ส.ป.ก. เข้าไปดาเนินการ
ิ
ี
�
ปฏิรูปท่ดินเพ่อเกษตรกรรมในพ้นท่ป่าสงวนแห่งชาติน้น และจัดสรรให้ผู้ได้รับอนุญาตก่อน จึงจะ
ื
ี
ั
ื
ี
�
ถือเป็นการเพิกถอนสภาพป่าสงวนแห่งชาติ” และคาพิพากษาศาลปกครองนครราชสีมา คดีหมายเลข
36 45 ป ส.ป.ก. อยู่ได้ อยู่ดี มีความสุข
ี