Page 44 - รวมเลมวจยในชนเรยน 2-2562_Neat
P. 44

34


                       ที่คอยป้อนแก่นักเรียนแต่จะมีบทบาทเป็นผู้คอยให้ความช่วยเหลือ จัดหาและชี้แนะ

                       แหล่งข้อมูลในการเรียนรู้ของนักเรียนตัวนักเรียนเองจะเป็นแหล่งความรู้ซึ่งกันและกันใน

                       กระบวนการเรียนรู้

                                      วันเพ็ญ ผลอุดม (2543 : 8) ได้ระบุว่า การเรียนรู้แบบร่วมมือ คือ การเรียนแบบ

                       หนึ่งซึ่งนักเรียนท างานร่วมกันเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ปกติ 4 ค น  การจัดกลุ่มต้องค านึงถึง

                       ความสามารถของนักเรียน เช่น นักเรียนมีความสามารถสูง 1 คน ความสามารถปานกลาง 2

                       คน และความสามารถต ่า 1 คน หน้าที่ของนักเรียนในกลุ่มต้องช่วยกันท างาน รับผิดชอบ

                       และช่วยเหลือเกี่ยวกับการเรียนซึ่งกันและกัน

                                      ชวลิต ชูก าแพง (2551 : 120) ได้ให้ความหมายของการเรียนรู้แบบร่วมมือว่า

                       การเรียนรู้แบบร่วมมือเป็นวิธีสอนที่น าไปประยุกต์ใช้ได้หลายวิชาและหลายระดับชั้นเป็น

                       กระบวนการเรียนรู้ที่แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มย่อยโดยทั่วไปสมาชิกในกลุ่ม 4 คนที่มี

                       ความสามารถแตกต่างกันเป็นนักเรียนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1 คน นักเรียนใน

                       กลุ่มต้องเรียนและรับผิดชอบงานของกลุ่มร่วมกัน นักเรียนจะประสบผลส าเร็จก็ต่อเมื่อ

                       เพื่อนสมาชิกในกลุ่มทุกคนประสบผลส าเร็จ บรรลุเป้าหมายร่วมกัน จึงท าให้นักเรียน

                       ช่วยเหลือกันจากการพึ่งพากัน และสมาชิกในกลุ่มจะได้รับรางวัลร่วมกัน เมื่อกลุ่มท า

                       คะแนนได้ถึงเกณฑ์ที่ก าหนดไว้

                                   1.6.2 รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ


                                         ชวลิต ชูก าแพง (2551 : 123–125) ได้สรุปรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
                       แบบร่วมมือซึ่งมีหลายกลุ่มแนวคิด แต่กลุ่มแนวคิดที่เป็นที่ยอมรับกันแพร่หลายคือ


                       กลุ่มแนวคิดของสลาวิน (Slavin) มีดังต่อไปนี้

                                         1.6.2.1 STAD (Student Teams Achievement Division) เป็นรูปแบบการสอน

                       ที่พัฒนาโดย “ Slavin” มีการจัดกลุ่มนักเรียนเป็ นกลุ่มเล็ก ๆ กลุ่มละ 4 ค น  ระดับ

                       ความสามารถแตกต่างกัน คือ นักเรียนเก่ง 1 คน ปานกลาง 2 คน และอ่อน 1 คน ครูก าหนด

                       บทเรียนและการท างานของกลุ่มไว้แล้ว โดยครูท าการสอนบทเรียนให้นักเรียนทั้งชั้น แล้ว

                       ให้กลุ่มท างานตามที่ก าหนด นักเรียนช่วยเหลือกัน เด็กเก่งช่วยตรวจงานและอธิบายเพื่อนให้
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49