Page 26 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 26

26



                   สนใจและติดตอกันนานกวาวัยเด็ก  การทํางาน  เรียนดี  ความคิดดี  มีเหตุผลขึ้น เด็กบางคนสามารถเขียนบท
                   ประพันธนวนิยายได  เปนตน


                   สรุป
                                 วัยรุน  มีพัฒนาการทางรางกายของเด็กหญิง  และเด็กชายแตกตางกัน  คือเด็กหญิงจะมี

                   พัฒนาการเร็วกวาเด็กชาย  โดยแบงชวงอายุดังนี้
                                1. วัยเตรียมเขาสูวัยรุน
                                 2.  วัยรุนตอนตน

                                 3.  วัยรุนตอนกลาง
                                 4.  วัยรุนตอนปลาย
                                 วัยรุนเปนชวงที่มีพัฒนาการทั้งในดานรางกายและจิตใจคอนขางเร็วกวาวัยอื่น ๆ เปนชวงของ

                   การปรับตัวจากวัยเด็กไปสูวัยผูใหญ  โดยมีการเปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ ดังนี้
                                  1.  การเปลี่ยนแปลงทางดานรางกายจะเปนไปอยางชัดเจน
                   วัยรุนหญิงจะมีลักษณะรูปรางทรวดทรงเปนหญิงสาวชัดเจนมีการเปลี่ยนแปลงระบบอวัยวะสืบพันธุโดยเริ่มมี

                   ประจําเดือนพรอมจะสืบพันธุได  วัยรุนชายจะเริ่มมีลักษณะของชายหนุม  มีการเปลี่ยนแปลงของระบบอวัยวะ
                   เพศเริ่มมีอสุจิซึ่งเปนเซลลสืบพันธุพรอมที่จะสืบพันธุได

                                 2.  การเปลี่ยนแปลงทางดานอารมณและจิตใจ
                   สวนใหญจะมีผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางดานรางกาย  ไดแก  ความวิตกกังวล  ความกลัว  ความโกรธ  ความ
                   รักและความอยากรูอยากเห็น  สิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับวัยรุนดังกลาวนั้น  ผูใหญ  ผูใกลชิดควรสังเกตและแกไข

                   ปญหาดวยเหตุผลตาง ๆ ที่เหมาะสม
                                 3.  การเปลี่ยนแปลงทางดานสังคม
                   เริ่มมีวงสังคมในกลุมเพศเดียวกันและตางเพศมีการทํากิจกรรมรวมกันเปนกลุม  กลัวการถูกทอดทิ้ง  ปญหาที่ควร

                   ระวังมากเปนเรื่องของยาเสพติด
                                 4.  การพัฒนาการทางสติปญญา
                   ความสามารถทางสมองจะพัฒนาเต็มที่  มีการเปลี่ยนแปลงที่เห็นไดชัด  ไดแกความสามารถในการพูด  การทํางาน

                   ความคิด  ความจําดี  มีสมาธิมากขึ้น
                                 3.4  วัยผูใหญ
                                       ระยะของชวงเวลาที่เรียกวา  ผูใหญ  นั้นมีความยาวนาน  และมีความสําคัญตอชีวิต

                   อยางมากเปนระยะเวลาการเลือกประกอบอาชีพที่มั่นคง   มีเพื่อน  คูครอง  ในวัยนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงทาง
                   รางกาย  และความเสื่อมในดานความสามารถอีกดวย  จะแบงชวงอายุไดเปน 2 ระยะ  คือวัยผูใหญอายุตั้งแต 21-40

                   ป  วัยกลางคนอายุตั้งแต 40-60 ป
                                     3.4.1  วัยผูใหญ (Adulthood)

                                            ลักษณะโดยทั่วไปของวัยผูใหญ
                                            บุคคลยางเขาสูวัยผูใหญ  ตองปรับตัวใหเขากฏเกณฑตาง ๆ ของสังคมยอมรับ
                   ความเปนจริงของชีวิต  การควบคุมอารมณ  การเลือกคูครองที่เหมาะสม  อาจกลาวไดดังนี้
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31