Page 51 - สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น
P. 51

51



                                 ตอมไรทอที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและพัมนาการของวัยรุนที่สําคัญ  ไดแก  ตอมใต
                   สมองหรือตอมพิทูอิทารี  (Pituitary gland) ตอมเพศ (Gonads) ตอมไทรอยด (thyroid gland) และตอมหมวกไต (adrenal

                   or suprarenal glands) ซึ่งตอมไรทอแตละตอมสงผลตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุน
                                 1.4อารมณทางเพศ (sexuality) หรือความตองการทางเพศ (sexusl desire)
                                 ในที่นี้จะหมายถึง  ความรูสึกของบุคคลที่มีผลมาจากสิ่งเราภายในหรือสิ่งเราภายนอกที่เปน

                   ปจจัยที่มากระตุนใหเกิดความรูสึกทางเพศขึ้น  โดยมีระดับความแตกตางมากนอยตางกัน  ขึ้นอยูกับความสามารถ
                   ในการควบคุมอารมณและพื้นฐานทางดานวุฒิภาวะของแตละบุคคล
                                       จากความหมายดังกลาวจะเห็นไดวา  สิ่งเราภายในและสิ่งเราภายนอกเปนปจจัยสําคัญ

                   ที่จะสงผลใหอารมณและอารมณทางเพศเกิดขึ้น  และเมื่อวิเคราะหในประเด็นที่เกี่ยวของกับความสําคัญของ
                   อารมณทางเพศกับวัยรุนแลว  สรุปประเด็นที่สําคัญได  ดังนี้

                                       1)  อารมณทางเพศถือวาเปนสัญชาตญาณในการดํารงเผาพันธุของมนุษยที่เกิดขึ้นตาม
                   ธรรมชาติ  เปนตัวบงชี้ประการหนึ่งที่แสดงใหเห็นถึงความสมบูรณของพัฒนาการทางดานรางกาย  จิตใจ และ
                   อารมณของวัยรุน  ที่กาวเขาสูชวงของวัยเจริญพันธุมากขึ้น

                                       2)  ปจจุบันสื่อหลายรูปแบบที่ปรากฏอยูในสังคมมีสวนชวยกระตุนแรงขับทางเพศ
                   (Sex drive) ของวัยรุนใหเกิดอารมณทางเพศไดงายขึ้น  การนําเสนอภาพหรือขอความที่เกี่ยวของกับเรื่องเพศผานสื่อ
                   ตาง ๆ เปนปจจัยหนึ่งที่ยั่วยุใหวัยรุนเกิดอารมณทางเพศที่เสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธไดงายและเร็วขึ้น  โดยสื่อตาง

                   ๆ เหลานี้อาจอยูในรูปแบบของหนังสือหรือภาพยนตรบางประเภท  รวมไปถึงขอมูลที่ไดจากการสืบคนดวยระบบ
                   อินเทอรเน็ต  ซึ่งผลกระทบจากอารมณทางเพศในแงลบจะมีมากยิ่งขึ้น  หากวัยรุนขาดความรูความเขาใจในแนว
                   ทางการควบคุมอารมณทางเพศอยางถูกตอง  จนในที่สุดอาจนําไปสูพฤติกรรมเสี่ยงตอการมีพศสัมพันธโดยไม

                   ตั้งใจ  และนํามาสูปญหาตาง ๆ ในสังคมที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมของวัยรุนได
                                       3)  อารมณทางเพศของวัยรุนหากขาดวิธีการควบคุมที่ถูกตอง  จะนําไปสูปญหา

                   พฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมของวัยรุนมากขึ้น  วัยรุนแมจะเปนวัยที่มีแรงขับทางเพศสูงกวาทุกวัย  และพรอม
                   ที่จะมีเพศสัมพันธหรือมีบุตรไดก็ตาม  แตสังคมและวัฒนธรรมของไทยก็ยังไมยอมรับที่จะใหวัยรุนชาย-หญิง
                   แสดงพฤติกรรมทางเพศที่ไมเหมาะสมดังกลาว  โดยเฉพาะการมีเพศสัมพันธจนกวาจะไดทําการสมรสหรือยู

                   ในชวงวัยที่เหมาะสม
                   อารมณทางเพศที่เกิดขึ้นในชวงการเขาสูวัยรุน  เปนพัฒนาการอยางหนึ่งที่แสดงใหเห็นถึงความพรอมของรางกาย
                   ที่จะสืบทอดและดํารงไวซึ่งเผาพันธุ  โดยมีสิ่งเราสําคัญใน 2 ลักษณะ  ประกอบดวย  ลักษณะของปจจัยที่เปนสิ่ง

                   เราภายใน (intrinsic stimulus) และลักษณะของปจจัยที่เปนสิ่งเราภายนอก (extrinsic stimulus)
                                       1)  ลักษณะของปจจัยที่เปนสิ่งเราภายใน
                                       ปจจัยที่เปนสิ่งเราภายใน  ในที่นี้หมายถึง  สิ่งเราซึ่งเปนผลที่เกิดจากกระบวนการ

                   เปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในรางกาย  โดยไดรับอิทธิพลมาจากการทํางานของระบบตอมไรทอ  ซึ่งผลิต
                   ฮอรโมน  ออกมาเพื่อกระตุนใหรางกายมีการพัฒนาอยางเปนระบบตอเนื่อง  ฮอรโมนเพศเปนปจจัยภายใรที่สําคัญ

                   ที่เปนสิ่งเราใหวัยรุนมีพัมนาการของอารมณทางพศเกิดขึ้น  และนําไปสูการเกิดความตองการทางเพศตามชวงวัย
                   ในเพศชายฮอรโมนที่เปนปจจัยสําคัญในเรื่องดังกลาว  คือ  ฮอรโมนเทสโทสเตอโรน  สวนในเพศหญิง  คือ
                   ฮอรโมนเอสตราดิโอล และ ฮอรโมนฟอลลิคิวลาร

                                       2)  ลักษณะของปจจัยที่เปนสิ่งเราภายนอก
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56