Page 77 - วิทยาศาสตร์การกีฬา
P. 77

๖๘



                                                         ࢋÒ

              ª×èÍ·‹Ò        : ทศกัณฑเหนี่ยวเขาพระสุเมรุ (เขากระทบ)

              คําºÍ¡คําÊÑè§ :  ทศกัณฑเหนี่ยวเขาพระสุเมรุ (เขานําหรือตาม).....ยกหรือครั้ง ปฏิบัติ
              ¨Ø´Ê‹§¾Åѧ     : ปุมกระดูกหัวเขา

              ¨Ø´ÃØ¡μÕ       : ทอง  ชายโครง  สีขาง โคนขา































              ÇÔ¸Õ»¯ÔºÑμÔ    : จากทาจรดมวย

              ࢋÒนํา        ๑.  ใชมือโอบจับรัดลําคอหรือลําตัวของคูตอสูหนีบกดไวใหแนน
                             ๒.  พุงปุมกระดูกหัวเขานํา (เขาหนา) ไปขางหนายังจุดรุกตี โดยอาศัยกําลังสงจาก

              ขาและลําตัว สงจุดสงพลังไปยังจุดรุกตีดวยการพุงแบบตรง (กุมภกรรณพุงหอก) หรือการเหวี่ยง
              ลักษณะโคง (ครอมเขาพระสุเมรุ) เขามาจากดานขางก็ได

                             ๓.  ดึงเขา ลดหมัด  กลับมาอยูในทาจรดมวย
              ࢋÒμÒÁ        ๑.  ใชมือโอบจับรัดลําคอหรือลําตัวของคูตอสูหนีบกดไวใหแนน

                             ๒.  พุงปุมกระดูกหัวเขาตาม (เขาหลัง) ไปขางหนายังจุดรุกตี โดยอาศัยกําลังสงจาก
              ขาและลําตัว สงจุดสงพลังไปยังจุดรุกตีดวยการพุงแบบตรง (กุมภกรรณพุงหอก) หรือการเหวี่ยง

              ลักษณะโคง (ครอมเขาพระสุเมรุ) เขามาจากดานขางก็ได
                             ๓.  ดึงเขา ลดหมัด  กลับมาอยูในทาจรดมวย

              ¢ŒÍá¹Ðนํา      : ทาเขานี้จะมีการดึงหรือโนมคอคูตอสูดวย แตถารัดเอวจะเปนการตีที่หนาขา
              หรือดานขางของเขา เรียกวา “เขาเหน็บ” เปนการตีแบบตองการตอเนื่อง หลักการจําคือ จับ กด ตี

              และไมตองกระโดดเหมือนทา “หักคอชางเอราวัณ”
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82