Page 18 - คู่มือ RF -kt-20-08-2018-4-45 (ฉบับเต็ม)_(29-08-18)
P. 18

5.  การเขียนบัตรค า (Talking Cards/ Index Cards)

                               6.  การเขียนแผนผังความคิด (Reflection Mapping)
                               7.  การวิเคราะห์กระบวนการตัดสินใจ (Decision-Making Analysis)

                               8.  การสนทนาโต๊ะกลม (Reflection Roundtables)

                               9.  กระบวนการกลุ่มแบบหมวกหกใบ (Six Hats)

                       Paris and Ayres (1999) ได้เสนอวิธีการสะท้อนคิด 4 วิธี ได้แก่

                              1.  การใช้แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio)
                               2.  การส ารวจและจัดท ารายการ (Survey and inventories)

                              3.  การเขียนบทความและจดหมาย (Journals and letters)
                              4.  การสัมมนาในหลากหลายรูปแบบ (Various kinds of conferences)


                       นอกจากนี้ยังอาจแบ่งเป็น การสะท้อนคิดเป็นรายบุคคล (Self-Reflection/ Individual Reflection)
               หรือการสะท้อนคิดเป็นคู่ (Reflection with Partners) หรือการสะท้อนคิดเป็นกลุ่มย่อย (Reflection in

               Small Groups and Teams)


                       การเขียนบันทึกสะท้อนคิด

                       การเขียนบันทึก (Journal writing) เป็นวิธีการสะท้อนคิดวิธีหนึ่งโดย บาวด์ (Bound, 2001 : 175 -
               177) กล่าวว่า การเขียนบันทึกเป็นกิจกรรมที่มีความหลากหลายทั้งด้านรูปแบบและจุดมุ่งหมายในการเขียน

               บันทึก อาทิ การเขียนบันทึกเพื่อบรรยายถึงประสบการณ์ การบรรยายหรือพรรณนาเหตุการณ์ การเข้าใจและ
               เข้าถึงอารมณ์ความรู้สึก การเขียนบันทึกจึงเป็นกิจกรรมของการบรรยาย ) ให้ผู้อ่านได้เข้าใจหรือเห็นสภาพของ

               สิ่งที่ผู้เขียนต้องการจะสื่อถึง  ซึ่งการเขียนบันทึกมีส่วนสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันกับการสะท้อนคิดของผู้เขียน

               สอดคล้องกับวูดฟิลด์ และลาซาลัส (Woodfield and Lazarus, 1998 : 133 - 134) กล่าวว่า การที่ผู้เรียน
               เขียนบันทึกต่าง ๆ นั้น จะสามารถเป็นตัวสะท้อน หรือเปิดเผยให้ผู้สอนได้เห็นแง่มุม หรือประสบการณ์ของ

               ผู้เรียนบางอย่างที่ผู้สอนผู้สอนไม่สามารถสังเกตเห็นได้ในชั้นเรียน รวมถึงได้เข้าใจถึงความเป็นจริงของระดับ
               สติปัญญา (Cognitive) สังคม (Social) และจิตใจ (Affective) ของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนรู้นั้น สอดคล้องกับ

               ศรีมาวิน และ ดาราสว่าง (Srimavin and Darasawang; 2003: p. 154) ที่กล่าวว่า การเขียนเป็นหลักฐาน

               หรือร่องรอยที่รวบรวมไว้เพื่อท าการสังเกต และเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยในกระบวนการของการสะท้อนคิด


                       จุดมุ่งหมายการเขียนบันทึก
                              1.  เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการเรียนการสอน (Teaching and Learning process

               reflection)

                              2.  เพื่อประเมินตนเอง (Self-evaluation) ในขณะที่เบย์ลี่ Bailey (1990 : 730) กล่าวว่า
               การเขียนบันทึก โดยเฉพาะการเขียนบันทึกของนักศึกษาฝึกหัดผู้สอน จะช่วยให้นักศึกษาฝึกหัดผู้สอน เกิดการ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23