Page 21 - คู่มือ RF -kt-20-08-2018-4-45 (ฉบับเต็ม)_(29-08-18)
P. 21

การกระท าของตนเอง ส่งผลกับบริบทข้างต้นอย่างไร และมีการอภิปรายอย่างกว้างขวางมากกว่ามุ่งความสนใจ

               เฉพาะตนเอง

                       กิลสแทรป และดูปรี (Gilstrap and Dupree, 2008) ได้กล่าวถึงการวัดระดับการสะท้อนคิด โดยได้

               ปรับเปลี่ยนเกณฑ์ในการวัดระดับการสะท้อนคิดจากเกณฑ์ของ สปาร์คเกอร์ส-แลงเยอร์ (Sparkers -Langer)
               และคณะ โดยแบ่งออกเป็น 7 ระดับ ดังนี้

                              ระดับที่ 1 ไม่เป็นภาษาที่สื่อความได้

                              ระดับที่ 2 ภาษาส าหรับการสื่อสารธรรมดา
                              ระดับที่ 3 บรรยายเหตุการณ์ด้วยภาษาที่เหมาะสม

                              ระดับที่ 4 อธิยายด้วยเหตุผลความนิยม
                              ระดับที่ 5 อธิบายด้วยเหตุผลที่มีทฤษฎีประกอบ

                              ระดับที่ 6 อธิบายด้วยหลักทฤษฎีและการพิจารณาเกี่ยวกับปัจจัยทางบริบท
                              ระดับที่ 7 อธิบายโดยการพิจารณาประเด็นที่สอดคล้องทางจริยธรรม ศีลธรรมและการเมือง

               การปกครอง

                       ล าพอง กลมกูล (2554) ได้เสนอโมเดลการวัดการสะท้อนคิดจากการด าเนินการวิจัยเรื่องการพัฒนา

               โมเดลเชิงสาเหตุของกระบวนการสะท้อนคิดของผู้สอนในการท าวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนพบว่า โมเดลการวัด

               การสะท้อนคิดสามารถวัดได้จากตัวแปรสังเกตมี 6 ขั้นตอน ดังนี้
                              1. รู้ว่าก าลังท าอะไร คือ การศึกษาขั้นตอนการท าวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนให้เข้าใจก่อนลง

               มือปฏิบัติ

                              2. แก้ไขในสิ่งที่คลุมเครือ คือ การเข้าใจในปัญหาในแต่ละขั้นตอนของการท าวิจัยปฏิบัติการ
               ในชั้นเรียน

                              3. เรียนรู้จากการกระท า คือ การเรียนรู้รูปแบบของปัญหาและสามารถวิเคราะห์จุดเด่นและ

               จุดด้อยของตนเองในการท าวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
                              4. น าสู่ความเข้าใจใหม่ คือ ความสามารถในการประยุกต์ใช้วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ควบคู่

               ไปกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน
                              5. คิดให้เป็นนวัตกรรม คือ ความสามารถในการเลือกใช้วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนเมื่อเกิด

               ปัญหาระหว่างการเรียนการสอน

                              6. ทดลองตามที่คิดเป็นหลัก คือ การน าทักษะการท าวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่ได้เรียนรู้ใน
               แต่ละครั้ง ไปทดลองใช้กับปัญหาในรูปแบบอื่นและแลกเปลี่ยนวิธีการกับเพื่อนผู้สอนได้ทดลองใช้วิธีการของ

               ตนเองด้วย

                       เอกชัย วิเศษศรี (2557, หน้า 20) สังเคราะห์ องค์ประกอบร่วมของการวัดการสะท้อนคิดพบว่า

               โมเดลการวัดการสะท้อนคิดมี 6 องค์ประกอบ และปรับแก้ไขชื่อองค์ประกอบให้มีความสอดคล้องกับ
               กระบวนการสะท้อนคิด ดังนี้
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26