Page 805 - Full paper สอฉ.3-62
P. 805

ปัญหาของผู้เริ่มต้นเขียนโปรแกรมมีหลายประการที่มักพบ  2.2 ประชากร
             อยู่เสมอทั้งในด้านผู้เรียน ผู้สอนและสภาพการจัดการเรียนการ  ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ นักศึกษาที่ก าลังศึกษา

             สอน วัตถุประสงค์ในการวิจัยครั้งนี้ เพื่อทราบถึงผลกระทบใน  อยู่ในระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
             การเรียนวิชาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุในด้านต่าง ๆ   วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561

                1.2 วัตถุประสงค์การวิจัย                      จ านวนทั้งสิ้น 14 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง
                เพื่อศึกษาผลกระทบที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการ  2.3 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
             เขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ                               ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือใน

                                                              การวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูล โดยแบ่งแบบสอบถามออกเป็น
             2. วิธีด าเนินการวิจัย                           2 ตอนดังนี้ คือ
                การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมุ่งศึกษาผลกระทบที่มีต่อผลสัมฤทธิ์  ตอนที่ 1 สอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของนักศึกษา มี

             ทางการเรียน วิชาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุของนักศึกษา  ลักษณะเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิด (Closed form) ให้
             ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์  เลือกตอบ (Check List) ได้แก่ เพศ ระดับผลการเรียนเฉลี่ยเดิม
             วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม เป็นการวิจัยเชิงส ารวจ (Survey  พื้นฐานด้านทางคอมพิวเตอร์ก่อนเข้าศึกษา ทักษะทางด้านการ

             Research) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือ  เขียนโปรแกรม และมีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน จ านวน 5 ข้อ
             ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ส าหรับข้อมูลที่ใช้ในการสร้าง  ตอนที่ 2 สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับ

             แบบสอบถามนั้น ได้มาจากการศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและ  ผลกระทบที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน วิชาการเขียน
             ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยมีขั้นตอนของการด าเนินการวิจัย  โปรแกรมเชิงวัตถุ จ านวน 32 ข้อ โดยจ าแนกเป็น 3 ด้าน คือ
             ดังนี้                                              1. ด้านผู้เรียน ประกอบด้วย ความพร้อมของผู้เรียน เนื้อหา

                2.1 ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย                    หลักสูตร ความเข้าใจในวิชาที่เรียน ค่านิยมและแรงจูงใจใฝ่
                   2.1.1 ตัวแปรต้น                            สัมฤทธิ์

                   ได้แก่ สถานภาพของนักศึกษาระดับปริญญาตรี       2. ด้านผู้สอน ประกอบด้วยคุณภาพการสอน การพัฒนา
             สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคนิคมหาสารคาม  ความรู้ และแรงเสริมของผู้สอน
             ประกอบด้วย เพศ และระดับผลการเรียนเฉลี่ยเดิม         3. ด้านสภาพแวดล้อมการจัดการเรี ยนการสอน
                   2.1.2 ตัวแปรตาม                            ประกอบด้วย สภาพห้องเรียน เครื่องมือและอุปกรณ์ การวัดผล

                   ได้แก่ ความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบที่มี  และประเมินผล
             ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 3

             ด้านดังนี้                                          ผู้วิจัยเลือกใช้แบบวัดโดยการสร้างแบบสอบถามแบบ
                   - ด้านที่ 1 ด้านผู้เรียน ประกอบด้วย ความพร้อมของ  มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามแนวทางของ
             ผู้เรียน เนื้อหาหลักสูตร ความเข้าใจในวิชาที่เรียน ค่านิยมและ  ลิเคอร์ท (Likert Rating Scale) โดยก าหนดเป็น 5 ระดับ คือ มาก

             แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์                              ที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด โดยมีเกณฑ์การให้
                   - ด้านที่ 2 ด้านผู้สอน ประกอบด้วย คุณภาพการสอน   คะแนนดังนี้

             การพัฒนาความรู้ และแรงเสริมของผู้สอน                    ระดับ  ความหมาย
                   - ด้านที่ 3 ด้านสภาพแวดล้อมการจัดการเรียนการสอน        5   มากที่สุด
             ประกอบด้วย สภาพห้องเรียน เครื่องมือและอุปกรณ์ การวัดผล       4   มาก

             และประเมินผล                                              3    ปานกลาง
                                                                       2    น้อย
                                                                       1    น้อยที่สุด



                                                              2
                                                                                                              787
   800   801   802   803   804   805   806   807   808   809   810