Page 810 - Full paper สอฉ.3-62
P. 810

nd
             การประชุมวิชาการระดับชาติ สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2                       The 2  Institute of Vocational Education : Northeastern Region 3
                                                        Research and Innovation Conference
             วันที่  6  กันยายน  2562  จ. มหาสารคาม                                                                                     6 September 2019 ,Mahasarakham , THAILAND


                         ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

                                                  วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์
                                       Factors affecting the use of the Internet by students

                                                   Kalasin Technical College



                                                    นายชัยวุฒิ  สุวรรณเรือง

                     1 ภาควิชา/สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์    วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์    สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3



             บทคัดย่อ                                         และอานวยความสะดวกในการศึกษาค้นคว้าวิจัย เนื่องจาก

               ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้อินเทอร์เน็ตของนักศึกษาระดับ  อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ครอบคลุม
              ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) กรณี ศึกษาวิทยาลัยเทคนิค  ทั่วโลก และมีความส าคัญทางการศึกษา [1] อินเทอร์เน็ตจึง
              กาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่างคือ  นักศึกษาระดับประกาศนียบัตร  กลายเป็นศูนย์กลางแห่งทรัพยากรนอกห้องเรียนที่ผู้ใช้สามารถ
              วิชาชีพ (ปวช.) สาขาอิเล็กทรอนิกส์ และสาขาเทคโนโลยี  เข้าถึงได้ทันที ช่วยพัฒนาทักษะการค้นคว้าหาข้อมูลรายชื่อ
              สารสนเทศ ในวิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ จ านวน 400 คน ได้  หนังสือในสาขาวิชาต่าง ๆ ได้จากทั่วทุกแห่งในโลก สามารถ
              จากการสุ่มแบบมีชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวม   ขอดูเนื้อหาตาราเกี่ยวกับวิชาต่าง ๆส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
              ข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ คือแบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น
              เท่ากับ 0.936 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ  และดาวน์โหลดซอร์ฟแวร์ต่าง ๆ จากที่อื่นมาใช้โดยไม่มี
              ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ปัจจัย (Factor   ค่าใช้จ่าย [2] การเติบโตอย่างรวดเร็วของอินเทอร์เน็ตท าให้ทุก
              Analysis) ผลการวิจัย  พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้  คนตื่นตัวศึกษาการใช้งานอินเทอร์เน็ต เพื่อที่จะนาไปใช้
              อินเทอร์เน็ต มีทั้งหมด 7 ปัจจัย คือปัจจัยด้านการจัดการเรียน  ประโยชน์ในการศึกษา หรือค้นหาข้อมูลต่าง
              การสอน  ปัจจัยด้านสถานที่ ปัจจัยด้านความบันเทิง ปัจจัย
              ด้านประโยชน์ ปัจจัยด้านระบบอินเทอร์เน็ต ปัจจัย  ด้านการ  วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ได้เห็นถึงความส าคัญของการใช้
              บริการ และปัจจัยด้านอื่น ๆ สามารถอธิบายความแปรปรวน  อินเทอร์เน็ต จึงได้เปิดสอนและอบรมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
              ได้ร้อยละ 56.963 ของความ  แปรปรวนทั้งหมด โดยค่า  อินเทอร์เน็ต เมื่อปีการศึกษา 2545 วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม
              สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของ ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้  และสนับสนุนนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถใช้
              อินเทอร์เน็ตของนักศึกษา  ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ   ประโยชน์จากบริการต่าง ๆ ที่มีในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และ
              (ปวช.) สาขาอิเล็กทรอนิกส์ และสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ   สามารถใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตได้มากน้อยเพียงไร หากมี
              34 ตัวแปร ระหว่าง 7 ปัจจัยมีค่าเท่ากับ  0.514 -0.852   การศึกษาในเรื่องดังกล่าวก็จะสามารถนามาใช้ประโยชน์ใน


             1.  ค าน า                                       ชีวิตประจาวันของนักเรียนได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
             ปัจจุบันอินเทอร์เน็ตเข้ามามีบทบาทและทวีความสาคัญอย่างยิ่ง  ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่มีความรอบรู้ในการบริการอินเทอร์เน็ต
             ต่อวงการศึกษาที่จะช่วยเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้เทคโนโลยี  มากยิ่งขึ้นส่งผลให้สภาพโดยรวมของเรียนเป็นผู้ที่มีความรู้

             สารสนเทศและพัฒนาความรู้ทั่วไป ตลอดจนเอื้อประโยชน์  ความทันสมัยอยู่เสมอ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก ด้วย
                                                              เหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงปัจจัยที่มีผล

              * ผู้เขียนผู้รับผิดชอบบทความ (Corresponding author)
              E-mail address: ………@...............
                                                             1
                                                                                                              792
   805   806   807   808   809   810   811   812   813   814   815